ReadyPlanet.com
bulletรับฟ้องคดีแพ่ง/อาญา
bulletพระราชบัญญัติ
bulletป.แพ่งและพาณิชย์
bulletป.อาญา ฎีกา
bulletป.วิอาญา
bulletป.วิแพ่ง
bulletป.กฎหมายที่ดิน
bulletป.รัษฎากร
bulletฟ้องหย่า
bulletอำนาจปกครอง
bulletนิติกรรม
bulletคดีมรดก
bulletอายุความฟ้องร้องคดี
bulletครอบครองปรปักษ์
bulletเอกเทศสัญญา
bulletเกี่ยวกับแรงงาน
bulletเกี่ยวกับคดีอาญา
bulletคดียาเสพติดให้โทษ
bulletตั๋วเงินและเช็ค
bulletห้างหุ้นส่วน-บริษัท
bulletคำพิพากษาและคำสั่ง
bulletทรัพย์สิน/กรรมสิทธิ์
bulletอุทธรณ์ฎีกา
bulletเกี่ยวกับคดีล้มละลาย
bulletเกี่ยวกับวิแพ่ง
bulletเกี่ยวกับวิอาญา
bulletการบังคับคดี
bulletคดีจราจรทางบก
bulletการเล่นแชร์ แชร์ล้ม
bulletอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
bulletมรรยาททนายความ
bulletถอนคืนการให้,เสน่หา
bulletข้อสอบเนติบัณฑิต
bulletคำพิพากษา 2550
bulletทรัพย์สินทางปัญญา
bulletสัญญาขายฝาก
bulletสำนักทนายความ
bulletป-อาญา มาตรา1- 398
bulletภาษาอังกฤษ
bulletการสมรสและการหมั้น
bulletแบบฟอร์มสัญญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2551-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2551-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-วิ-แพ่ง
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-วิ-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2549-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2548-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2547-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2546-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2545-แพ่งพาณิชย์
bulletนิติกรรมสัญญา
bulletพระธรรมนูญศาล
bulletทรัพย์สิน-สามีภริยา
bulletบิดามารดา-รับรองบุตร
bulletคดีครอบครัว
bulletสัญญาระหว่างสมรส
bulletสิทธิครอบครองที่ดิน
bulletสัญญาซื้อขาย
bulletแปลงหนี้ใหม่
bulletการได้กรรมสิทธิ์
bulletคดีเรื่องบุตร
bulletเช่าซื้อรถยนต์
bulletถอนผู้จัดการมรดก
bulletฟ้องค่าทดแทน
bulletฟ้องหย่า-ฟ้องหย่า
bulletสินสมรส-สินสมรส
bulletบันดาลโทสะ
bulletเบิกความเท็จ
bulletสิทธิ-สัญญาเช่า
bulletค้ำประกัน
bulletเจ้าของรวม
bulletจำนอง
bulletลูกหนี้ร่วม
bulletคำพิพากษาฎีกาทั่วไป
bulletกระดานถาม-ตอบ
bulletป-กฎหมายยาเสพติด2564
bulletขนส่งทางทะเล
bulletสมรสเป็นโมฆะ
bulletสามีภริยา
bulletตัวการไม่เปิดเผยชื่อ
bulletทนายความของสภาจัดให้
bulletอาวุธปืน
bulletรับช่วงสิทธิ
bulletแพ่งมาตรา1-1755




การสิ้นสุดแห่งการสมรส

ฟ้องหย่า เหตุฟ้องหย่า ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1516 อุปการะเลี้ยงดูหรือยกย่องผู้อื่น เป็นชู้หรือมีชู้ หรือร่วมประเวณีกับผู้อื่นเป็นอาจิณ ประพฤติชั่ว 1. ได้รับความอับอายขายหน้า 2. ได้รับความดูถูกเกลียดชัง 3. ได้รับความเสียหายหรือเดือดร้อนเกินควร ทำร้าย หรือทรมานร่างกาย หมิ่นประมาทหรือเหยียดหยาม จงใจละทิ้งร้างอีกฝ่ายหนึ่งไปเกินหนึ่งปี ต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก สามีและภริยาสมัครใจแยกกันอยู่เกินสามปี 

เหตุฟ้องหย่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1516

(1) กรณีที่จะเข้าเหตุหย่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1516 (4/2) นั้น นอกจากสามีภริยาต้องสมัครใจแยกกันอยู่ตลอดมาเกิน 3 ปีแล้ว ยังต้องเป็นการแยกกันอยู่ เพราะเหตุที่ไม่อาจอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยาได้โดยปกติด้วย ในทางนำสืบได้ความว่าโจทก์ไม่ประสงค์จะอยู่กินกับจำเลยและไปจากภูมิลำเนาเสียเองทั้งที่จำเลยยังเต็มใจที่จะเป็นคู่สมรสของโจทก์อยู่ 

(2) การที่สามีนำตำรวจไปจับกุมภริยาตามที่บิดาของสามีแจ้งความร้องทุกข์ต่อตำรวจไว้แล้วว่าภริยาลักทรัพย์ ถือว่าเป็นการหมิ่นประมาทภริยาอย่างร้ายแรง เป็นเหตุให้ภริยาอ้างเป็นเหตุฟ้องหย่าได้ ภริยาเรียกค่าเลี้ยงชีพอ้างว่าการหย่าทำให้ภริยายากจนลงเนื่องจากไม่มีรายได้จากงานตามที่เคยทำอยู่ในระหว่างสมรส เหตุแห่งการหย่าเป็นความผิดของสามี ๆ จะต้องรับผิดจ่ายค่าเลี้ยงชีพให้แก่ภริยา

(3)อยู่กินฉันสามีภริยาแค่สองเดือน สามีไปเป็นทหารเกณฑ์ หลังจากปลดประจำการทหารแล้ว สามีก็ไม่ได้กลับมาอยู่กินในฐานะสามีภริยาการเป็นสามีภริยากันนั้นเมื่อจดทะเบียนสมรสกันแล้วตามกฎหมายสามีภริยาต้องอยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยาและสามีภริยาต้องช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันตามความสามารถและฐานะของตน พฤติการณ์ของสามีเป็นเรื่องจงใจละทิ้งร้างภริยาไปเกินหนึ่งปีตั้งแต่ปลดประจำการทหาร ภริยาจึงฟ้องหย่าได้

(4) กฎหมาย ป.พ.พ. มาตรา 1461 บัญญัติไว้ว่า สามีภริยาต้องอยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยา และสามีภริยาต้องช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันตามความสามารถและฐานะของตน ในกรณีที่สามีภริยาไม่ให้ความช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูซึ่งกันและกัน เป็นเหตุให้อีกฝ่ายหนึ่งเดือดร้อนเกินควร ฝ่ายที่เดือดร้อนเกินควรอ้างเป็นเหตุฟ้องหย่าได้

(5) กรณีที่สามีต้องจ่ายเงินให้เป็นค่าอุปการะเลี้ยงดูแก่ภริยาทุกเดือนเมื่อเงินเดือนออก  ถ้าสามีไม่จ่ายเดือนใด แต่ภริยาก็ยังมีเงินเหลือที่จะจับจ่ายใช้สอยอยู่ไม่ถึงกับอดๆ หยาก ๆขัดสนอย่างนี้จะถือว่าสามีไม่ให้ความช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูตามสมควรไม่ได้ หรือในกรณีที่ภริยาแยกตัวออกไปอยู่ต่างหากเองโดยที่สามีไม่ได้ขับไสไล่ส่ง ซึ่งในระหว่างที่ภริยาแยกตัวออกไปสามีไม่ได้ให้ความช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูซึ่งไม่ใช่ความผิดของสามี กรณีนี้ภริยาจะอ้างเป็นเหตุฟ้องหย่าว่าสามีไม่ให้ความช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูตามสมควรหาได้ไม่

(6) เหตุที่จะอ้างฟ้องหย่าว่าสามีหรือภริยาอุปการะเลี้ยงดูหรือยกย่องผู้อื่นฉันภริยาหรือสามี เป็นชู้หรือมีชู้ หรือร่วมประเวณีกับผู้อื่นเป็นอาจิณ ย่อมระงับไปนับแต่วันผู้กล่าวอ้างรู้หรือควรรู้ความจริงซึ่งตนอาจยกขึ้นกล่าวอ้าง แต่เหตุดังกล่าวหากยังคงเกิดขึ้นต่อเนื่องนับแต่อีกฝ่ายหนึ่งรู้ข้อเท็จจริงก็ไม่ทำให้เหตุฟ้องหย่าระงับ เพราะถือว่ามีการล่วงละเมิดต่อสามี หรือภริยาเขาอยู่สิทธิฟ้องหย่าไม่ระงับ

(7) หลอกลวงว่าเป็นชายโสดจนหลงเชื่อและสมรสด้วย, ทำร้ายร่างกาย, ดูถูกเหยียดหยามบุพการี, เป็นการประพฤติตนอันเป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามีภริยาอย่างร้ายแรง ทำให้ได้รับความเสียหายต้องสูญเสียพรหมจารี ศาลชั้นต้นให้หย่าขาดจากการเป็นสามีภริยา ไม่ไปจดทะเบียนหย่าให้ถือเอาคำพิาพากษาของศาลแทนการแสดงเจตนาในการจดทะเบียนหย่า

(8)  สามีฟ้องหย่าเพราะเหตุภริยาไม่ยอมติดตามไปอยู่ด้วยกันกับสามีโดยไม่มีเหตุผล กลับก่อหนี้สินเป็นภาระแก่ครอบครัวมากมาย

สามีต้องย้ายไปรับราชการตามจังหวัดต่าง ๆ แต่ที่ภริยามิได้ติดตามไปด้วย สามีมีหน้าที่ ที่จะต้องกลับมาเยี่ยมเยียนดูแลบุตรภริยา เมื่อสามีไม่ยอมกลับมาอีก การแยกกันอยู่ตามสภาพเดิมก็เปลี่ยนเป็นแยกกันอยู่อย่างจริงจังไปแต่กรณีดังกล่าวจะถือว่าเป็นการแยกกันโดยความสมัครใจของภริยาด้วยหาได้ไม่เพราะภริยายังรักใคร่หึงหวงในตัวสามีอยู่จึงได้ทำหนังสือร้องเรียนต่อผู้บังคับบัญชา

(9) เป็นสามีภริยากันย่อมจะมีเรื่องระหองระแหงทะเลาะกันเป็นปกติธรรมดาของชีวิตคู่ สามีไม่ค่อยอยู่บ้านก็มิใช่เป็นการประพฤติเสื่อมเสีย และการที่สามีตบตีทำร้ายภริยาจนต้องไปแจ้งความดำเนินคดีแต่พนักงานสอบสวนได้ไกล่เกลี่ยก็เป็นเรื่องภายในครอบครัว ซึ่งภริยาไม่ประสงค์จะดำเนินคดีเอง หลังจากนั้นทั้งสองยังทะเลาะกันและสามีพยายามจะทำร้ายร่างกายภริยา พฤติกรรมดังกล่าวยังถือไม่ได้ว่าสามีทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อการที่เป็นสามีภริยากันอย่างร้ายแรงถึงขนาดที่ภริยาเดือดร้อนเกินควร ยังไม่เป็นเหตุให้ฟ้องหย่าได้

(10)  สามียกย่องหญิงอื่นเป็นภริยาย่อมเป็นสิทธิของภริยาที่จะหึงหวง สามีเห็นดีเห็นชอบให้หญิงอื่นแสดงตนเทียบฐานะเสมอภริยาโดยใช้สรรพนามแทนตนว่า"แม่"ต่อบุตรทั้งสอง การที่ภริยากีดกันหลบเลี่ยงมิให้สามีพบปะบุตรจึงมีเหตุผลที่จะกระทำได้ สามีจะอ้างว่าเป็นกรณีที่ภริยากระทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามีภริยากันอย่างร้ายแรงไม่ได้

(11)  สามีภรรยาทำพิธีแต่งงานกันตามประเพณี จดทะเบียนสมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย และร่วมอยู่กินด้วยกันแล้ว แม้จะมีเรื่องทะเลาะกันรุนแรงเพียงใด หากมิใช่เป็นเรื่องร้ายแรงถึงขนาดแล้วย่อมที่จะให้อภัยโดยต่างฝ่ายต่างผ่อนปรนให้แก่กันได้  สาเหตุที่ทะเลาะกันเป็นสาเหตุเรื่องเงินทองภายในครอบครัวซึ่งเป็นเรื่องปกติธรรมดาทั่วไปจึงมิใช่เป็นสาเหตุร้ายแรงและสามารถปรับความเข้าใจระหว่างกันได้  สามีไปอยู่ที่บ้านตนเองโดยไม่ยอมกลับไปหาภริยา สามีมิได้ขวนขวายที่จะชักชวนให้ภริยาไปอยู่ด้วย ข้อเท็จจริงจึงยังฟังไม่ได้ว่าภริยาจงใจละทิ้งร้าง สามีจึงไม่มีเหตุที่จะฟ้องหย่า

(12) ภริยากู้ยืมเงินคนอื่นเพื่อใช้จ่ายในคดีที่สามีถูกจับฐานพกอาวุธปืนและเพื่อใช้จ่ายสำหรับการศึกษาของบุตรหนี้สินทั้งหมดจึงเกิดจากการนำมาใช้จ่ายในครอบครัวระหว่างสามี ภริยาและบุตร การกระทำของภริยาไม่ถือว่าเป็นการประพฤติชั่วอันจะเป็นเหตุให้สามีฟ้องหย่าได้ การที่จำเลยหึงหวงและโกรธที่โจทก์หนีไปมีความสัมพันธ์ทางชู้สาวกับหญิงอื่นจึงด่าโจทก์และบุพการีว่ามึงมันเลวเหมือนโคตรมึงนั้นไม่เป็นการหมิ่นประมาทโจทก์หรือบุพการีของโจทก์เป็นการร้ายแรง

(13)  ถ้าสามี หรือภริยาได้ยินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจในการกระทำที่เป็นเหตุหย่านั้นฝ่ายที่ยินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจนั้นจะยกเป็นเหตุฟ้องหย่านั้นไม่ได้

สามีรับหญิงอื่นมาเป็นภรรยาโดยการรู้เห็นและยินยอมของภริยาและโดยภริยาเป็นเจ้าภาพให้สามีทำพิธีออกบ้านและเป็นผู้มอบเงิน 15,000 บาท เป็นค่าสินสอดให้แก่หญิงอื่นนั้นด้วย หลังจากนั้นสามี ภริยาและหญิงอื่นนั้นอาศัยอยู่ร่วมบ้านเดียวกัน ดังนั้นภริยา จะยกเป็นเหตุฟ้องหย่านั้นไม่ได้

การสิ้นสุดแห่งการสมรส (Termination Of Marriage) การสมรสสิ้นสุดลงด้วยความตาย (Marriage is terminated by death)

 การสิ้นสุดแห่งการสมรส (Termination Of Marriage) การสมรสสิ้นสุดลงด้วยความตาย (Marriage is terminated by death)

 กรณีที่จะเป็นการกระทำอันแสดงให้เห็นได้ว่าเป็นการที่โจทก์ให้อภัยในการกระทำของจำเลยทั้งสองและทำให้สิทธิฟ้องหย่าหมดไปนั้นต้องได้ความว่า คู่สมรสที่มีสิทธิฟ้องหย่าจะต้องมีเจตนาที่จะยกโทษให้คู่สมรสฝ่ายที่ทำผิดเพื่อที่จะให้คู่สมรสที่ทำผิดกลับคืนสู่สถานะในทางครอบครัวดังเดิม

 

กรณีที่จะเป็นการกระทำอันแสดงให้เห็นได้ว่าเป็นการที่โจทก์ให้อภัยในการกระทำของจำเลยทั้งสองและทำให้สิทธิฟ้องหย่าหมดไปนั้นต้องได้ความว่า คู่สมรสที่มีสิทธิฟ้องหย่าจะต้องมีเจตนาที่จะยกโทษให้คู่สมรสฝ่ายที่ทำผิดเพื่อที่จะให้คู่สมรสที่ทำผิดกลับคืนสู่สถานะในทางครอบครัวดังเดิม

 

โจทก์ฟ้องหย่าจำเลยซึ่งเป็นสามีอ้างเหตุว่า จำเลยทรมานร่างกายและจิตใจของโจทก์ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1516 (3) โดยบรรยายฟ้องว่า จำเลยกระทำการเป็นปฏิปักษ์ด้วยการใช้วาจาไม่สุภาพและทะเลาะกับโจทก์โดยไม่มีเหตุผลเป็นประจำ จำเลยถือมีดทำครัวยืนขวางไม่ให้โจทก์ออกจากบ้านและขู่จะฆ่าให้ตายหากไม่นำภาพถ่ายในอดีตของโจทก์มาให้และข่มขู่จะทำร้ายโจทก์ด้วยอารมณ์รุนแรงไม่มีเหตุผล ทำให้โจทก์หนีออกจากบ้านเพราะเกรงจะถูกทำร้าย การที่โจทก์นำสืบว่า จำเลยใช้มีดขู่ให้โจทก์ยอมร่วมประเวณีด้วย ทั้งๆ ที่โจทก์ไม่สบายและไม่ต้องการร่วมประเวณี ทำให้โจทก์รู้สึกทรมานร่างกายและจิตใจอย่างมาก จึงเป็นรายละเอียดแห่งเหตุหย่าตามที่โจทก์กล่าวบรรยายในฟ้อง มิใช่การนำสืบนอกเหนือจากฟ้องตามฎีกาของจำเลยแต่อย่างใด โจทก์มีสิทธิฟ้องหย่าจำเลยได้

 

จำเลยกระทำการเป็นปฏิปักษ์ด้วยการใช้วาจาไม่สุภาพและทะเลาะกับโจทก์โดยไม่มีเหตุผลเป็นประจำ

 

ฟ้องโดยอาศัยเหตุหย่าอ้างว่าจำเลยจงใจละทิ้งร้างโจทก์ไปเกินหนึ่งปีไม่ได้ระบุถึงการสมัครใจแยกกันอยู่เพราะไม่อาจอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยาได้โดยปกติสุขตลอดมา เหตุหย่าตาม มาตรา 1516 (4/2) นั้น ไม่ได้มีเพียงระยะเวลาที่แยกกันอยู่เกินสามปีเท่านั้น ยังต้องมีองค์ประกอบว่าต้องเป็นเพราะเหตุที่ไม่อาจอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยาได้โดยปกติสุขตลอดมา ซึ่งโจทก์ไม่ได้บรรยายถึงองค์ประกอบดังกล่าวไว้ ฟ้องของโจทก์ในประเด็นนี้จึงไม่ชอบ ถือว่าคำฟ้องของโจทก์ไม่มีเหตุหย่าตามบทบัญญัติในมาตรา 1516 (4/2)

 

ฟ้องหย่าอ้างแยกกันอยู่เกินสามปีต้องเพราะไม่อาจอยู่ร่วมกันได้โดยปกติสุข

 



สิทธิฟ้องหย่าระงับเมื่ออีกฝ่ายให้อภัยแล้ว article
สมัครใจแยกกันอยู่เกินสามปีฟ้องหย่าได้ article
สิทธิที่จะติดต่อกับบุตรของตนได้ตามสมควรแล้วแต่พฤติการณ์
ไม่อาจร่วมประเวณีได้ ต้องการฟ้องหย่า
เหตุฟ้องหย่าให้เป็นไปตามกฎหมายแห่งถิ่นที่ยื่นฟ้องหย่า
แยกกันอยู่หรือจงใจละทิ้งร้าง? -อยู่บ้านเดียวกันแต่ก็มีลักษณะแบบต่างคนต่างอยู่
กระทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อการที่เป็นสามีหรือภริยากันอย่างร้ายแรง
ไม่ถือว่าจำเลยประพฤติชั่วทำให้โจทก์อับอายถูกเกลียดชังจนเป็นเหตุฟ้องหย่าได้
สิทธิที่จะเรียกค่าทดแทนชู้สาวนั้นต้องแสดงตนโดยเปิดเผย
เหตุแห่งการฟ้องหย่าทำให้อีกฝ่ายหนึ่งยากจนลงขอให้อีกฝ่ายหนึ่งจ่ายค่าเลี้ยงชีพได้
ฟ้องซ้ำ ค่าอุปการะเลี้ยงดู หนี้ที่ยังไม่ถึงกำหนด
การสมรสสิ้นไปด้วยเหตุความตายของคู่สมรสฝ่ายหนึ่ง
การแบ่งสินสมรสและกรรมสิทธิ์รวม
หมิ่นประมาทหรือเหยียดหยามสามีหรือบุพการี
สัญญาระหว่างสมรสให้ทรัพย์สินของสามีตกเป็นของภริยาห้ามบอกล้าง
ขอเพิกถอนทะเบียนสมรสซ้อน สมรสซ้อนโดยไม่สุจริต
ทะเบียนสมรส ลงชื่อฝ่ายชายคนเดียว, เพิกถอนการรับบุตรบุญธรรม
ฟ้องหย่าอ้างเหตุสมัครใจแยกกันอยู่
ทำร้ายร่างกายถ้าเป็นการร้ายแรงฟ้องหย่าได้, ศาลปรับหนึ่งพันไม่เป็นการร้ายแรง
ฟ้องหย่าอ้างว่าจำเลยดูหมิ่นโจทก์และบุพการีของโจทก์อย่างร้ายแรง
การกระทำของจำเลยถือไม่ได้ว่าเป็นการประพฤติชั่วอันเป็นเหตุฟ้องหย่า
โจทก์ได้ให้อภัยจำเลยเรื่องทำร้ายร่างกายแล้วถือได้ว่าสิทธิฟ้องหย่าในข้อนี้ย่อมหมดไป
ทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามีภริยากันอย่างร้ายแรง
เป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามีภริยากัน, การทำร้ายคู่สมรส
เหตุฟ้องหย่า เหตุที่ไม่อาจอ้างเป็นเหตุฟ้องหย่าได้ มีอะไรบ้าง
ไม่เกิดสิทธิฟ้องหย่าเพราะโจทก์มีพฤติกรรมนอกใจจำเลยยกย่องหญิงอื่นฉันภริยา
ความสมบูรณ์ของการสมรส, ฟ้องให้การสมรสเป็นโมฆะ
การละเมิดเกิดขึ้นต่อเนื่องอายุความจึงยังไม่เริ่มนับคดีไม่ขาดอายุความ
การฟ้องหย่าและหย่าโดยคำพิพากษาของศาล
ฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูจากสามี ไม่ฟ้องหย่า
ฟ้องหย่าอ้างสิทธิที่จะเลือกคู่ครองตามรัฐธรรมนูญ
รู้ว่าสามีไปมีหญิงอื่นเกินหนึ่งปีก็ฟ้องเรียกค่าเสียหายได้,อายุความ
จงใจละทิ้งร้างไปเกินหนึ่งปี
สามีฟ้องหย่า,จงใจละทิ้งร้าง,เป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามีภริยา
ฟ้องหย่าได้ที่ศาลใด
สามีโจทก์เข้าออกบ้านของจำเลยในเวลากลางคืนบ่อยครั้ง
การหย่าโดยคำพิพากษาจะมีผลต่อเมื่อเวลาที่คำพิพากษาถึงที่สุด
หนังสือร้องเรียนผู้บังคับบัญชาเรื่องความสัมพันธ์กับหญิงอื่น
ฟ้องหย่าอ้างแยกกันอยู่เกินสามปีต้องเพราะไม่อาจอยู่ร่วมกันได้โดยปกติสุข
เหตุฟ้องหย่าอ้างว่าใช้วาจาไม่สุภาพและทะเลาะโดยไม่มีเหตุผล
หลักเกณฑ์การใช้สิทธิเรียกร้องค่าเลี้ยงชีพหลังการหย่า
สิทธิฟ้องหย่าของโจทก์หมดไปโจทก์ให้ความยินยอมและรู้เห็นเป็นใจ
สมัครใจแยกกันอยู่เกิน 3 ปี ต้องเพราะเหตุที่ไม่อาจอยู่ร่วมกันได้โดยปกติสุขด้วย
คำสั่งขอคุ้มครองชั่วคราวเกี่ยวด้วยดอกผลของสินสมรส
แม้โจทก์ไม่ได้นำสืบเรื่องอำนาจปกครองบุตรผู้เยาว์แต่ศาลมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดได้
จดทะเบียนสมรสโดยต่างไม่ได้ยินยอมเป็นสามีภริยากันอย่างแท้จริง
ความหมายว่า"ค่าอุปการะเลี้ยงดูจนกว่าจะสมรสใหม่และจนกว่าการสมรสสิ้นสุดลง"
ฟ้องหย่าคดีอยู่ระหว่างฎีกาฟ้องคดีใหม่เป็นฟ้องซ้อน
สำนักงานการปฏิรูปฯ (ส.ป.ก.)ขอออกโฉนดโดยมิชอบ
พักโรงแรมห้องเดียวกับสามี ฟ้องเรียกค่าทดแทนจากหญิงชู้โดยไม่ต้องฟ้องหย่า
โจทก์ไม่ทราบแน่ชัดเรื่องชู้สาวจึงไม่เป็นการยินยอมและให้อภัยของโจทก์
บันทึกท้ายทะเบียนการหย่าว่าให้ที่ดินตกเป็นของบุตรเมื่อตายไม่ใช่พินัยกรรม
คดีฟ้องหย่าฟ้องชู้สาวไม่มีกฎหมายห้ามมิให้รับฟังแผ่นบันทึกเสียงที่แอบบันทึกไว้
การจงใจทิ้งร้างไปเกินกว่า 1 ปีต้องในลักษณะที่ไม่หวนกลับไปหาคู่สมรสอีก
สมัครใจแยกกันอยู่เพราะเหตุที่ไม่อาจอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยาได้
การจดทะเบียนหย่าด้วยการแสดงเจตนาลวง
จดทะเบียนหย่าแล้วก็ฟ้องเรียกค่าทดแทนชู้สาวได้
ขับไล่โจทก์ออกจากบ้านเป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามีภริยากันอย่างร้ายแรง
สามีภริยาจะต้องมีการร่วมประเวณีกันบ้างแต่ต้องเกิดจากความยินยอม
ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องด้วยวิธีประกาศหนังสือพิมพ์
สมัครใจแยกกันอยู่เกินสามปี เหตุฟ้องหย่า
สมัครใจแยกกันอยู่, จงใจละทิ้งร้าง, เป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามีภริยา
ฟ้องหย่าขอแบ่งสินสมรส การจัดการสินสมรสที่เป็นเงินตรา(เงินสด)
การหย่าโดยความยินยอมต้องทำอย่างไร?, หนังสือหย่า
การฟ้องและเรียกค่าทดแทนคดีครอบครัว
สิทธิฟ้องค่าอุปการะเลี้ยงดูอันจะอยู่ในอายุความ 5 ปี
เรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรย้อนหลัง
เรียกค่าทดแทนจากสามีและหญิงอื่น(เมียน้อย), ยกย่องผู้อื่นฉันภริยา
การหย่าโดยคำพิพากษาของศาล
เรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์ สิทธิเรียกร้องกำหนดอายุความ 5 ปี
การหย่าโดยความยินยอม, บันทึกเป็นหนังสือประสงค์หย่าขาด
นำตำรวจจับกุมภริยา หมิ่นประมาทหรือเหยียดหยามโจทก์อย่างร้ายแรง
จงใจละทิ้งร้างภริยาไปเกินหนึ่งปีฟ้องหย่าได้, สามีภริยาต้องอยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยา
ไม่ให้ความช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูอีกฝ่ายหนึ่งตามสมควร
สิทธิฟ้องหย่าระงับไปเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งปีเว้นแต่เหตุฟ้องเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ยินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจ, อุปการะเลี้ยงดูหญิงอื่นเป็นภริยา
แยกกันอยู่เพราะสามีรับราชการที่อื่น, ไม่ถือว่าเป็นการแยกกันอยู่โดยความสมัครใจ
ทะเลาะกันและทำร้ายร่างกายยังไม่เป็นเหตุฟ้องหย่า
แยกกันอยู่เพราะสามียกย่องหญิงอื่น, เป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามีภริยากันอย่างร้ายแรง
ฟ้องหย่าจงใจละทิ้งร้างเรียกสินสอดทองหมั้นคืน
สามีหรือภริยาประพฤติชั่วอีกฝ่ายหนึ่งฟ้องหย่าได้
รู้เห็นเป็นใจในการกระทำที่เป็นเหตุหย่าจะยกเป็นเหตุฟ้องหย่านั้นไม่ได้
พี่น้องของผู้ตายขอเพิกถอนการจดทะเบียนสมรสซ้อนไม่ได้
อำนาจฟ้องขอเพิกถอนการสมรสเพราะสำคัญผิดตัว
ศาลมีอำนาจกำหนดค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรได้
ต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก-ได้ถูกจำคุกเกินหนึ่งปี ฟ้องหย่าได้
หน้า 1/1
1
[Go to top]