ReadyPlanet.com
bulletรับฟ้องคดีแพ่ง/อาญา
bulletพระราชบัญญัติ
bulletป.แพ่งและพาณิชย์
bulletป.อาญา ฎีกา
bulletป.วิอาญา
bulletป.วิแพ่ง
bulletป.กฎหมายที่ดิน
bulletป.รัษฎากร
bulletฟ้องหย่า
bulletอำนาจปกครอง
bulletนิติกรรม
bulletคดีมรดก
bulletอายุความฟ้องร้องคดี
bulletครอบครองปรปักษ์
bulletเอกเทศสัญญา
bulletเกี่ยวกับแรงงาน
bulletเกี่ยวกับคดีอาญา
bulletคดียาเสพติดให้โทษ
bulletตั๋วเงินและเช็ค
bulletห้างหุ้นส่วน-บริษัท
bulletคำพิพากษาและคำสั่ง
bulletทรัพย์สิน/กรรมสิทธิ์
bulletอุทธรณ์ฎีกา
bulletเกี่ยวกับคดีล้มละลาย
bulletเกี่ยวกับวิแพ่ง
bulletเกี่ยวกับวิอาญา
bulletการบังคับคดี
bulletคดีจราจรทางบก
bulletการเล่นแชร์ แชร์ล้ม
bulletอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
bulletมรรยาททนายความ
bulletถอนคืนการให้,เสน่หา
bulletข้อสอบเนติบัณฑิต
bulletคำพิพากษา 2550
bulletทรัพย์สินทางปัญญา
bulletสัญญาขายฝาก
bulletสำนักทนายความ
bulletป-อาญา มาตรา1- 398
bulletภาษาอังกฤษ
bulletการสมรสและการหมั้น
bulletแบบฟอร์มสัญญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2551-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2551-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-วิ-แพ่ง
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-วิ-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2549-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2548-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2547-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2546-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2545-แพ่งพาณิชย์
bulletนิติกรรมสัญญา
bulletพระธรรมนูญศาล
bulletทรัพย์สิน-สามีภริยา
bulletบิดามารดา-รับรองบุตร
bulletคดีครอบครัว
bulletสัญญาระหว่างสมรส
bulletสิทธิครอบครองที่ดิน
bulletสัญญาซื้อขาย
bulletแปลงหนี้ใหม่
bulletการได้กรรมสิทธิ์
bulletคดีเรื่องบุตร
bulletเช่าซื้อรถยนต์
bulletถอนผู้จัดการมรดก
bulletฟ้องค่าทดแทน
bulletฟ้องหย่า-ฟ้องหย่า
bulletสินสมรส-สินสมรส
bulletบันดาลโทสะ
bulletเบิกความเท็จ
bulletสิทธิ-สัญญาเช่า
bulletค้ำประกัน
bulletเจ้าของรวม
bulletจำนอง
bulletลูกหนี้ร่วม
bulletคำพิพากษาฎีกาทั่วไป
bulletกระดานถาม-ตอบ
bulletป-กฎหมายยาเสพติด2564
bulletขนส่งทางทะเล
bulletสมรสเป็นโมฆะ
bulletสามีภริยา
bulletตัวการไม่เปิดเผยชื่อ
bulletทนายความของสภาจัดให้
bulletอาวุธปืน
bulletรับช่วงสิทธิ
bulletแพ่งมาตรา1-1755




อายุความฟ้องร้องคดี

ตาม ป.พ.พ.มาตรา 193/9 ที่บัญญัติว่า “สิทธิเรียกร้องใดๆ ถ้ามิได้บังคับภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด สิทธิเรียกร้องนั้นเป็นอันขาดอายุความ” และมาตรา 193/10 “สิทธิเรียกร้องที่ขาดอายุความ ลูกหนี้มีสิทธิที่จะปฏิเสธการชำระหนี้ตามสิทธิเรียกร้องนั้นได้” 

ตาม ป.พ.พ.มาตรา 193/9 ที่บัญญัติว่า “สิทธิเรียกร้องใดๆ ถ้ามิได้บังคับภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด สิทธิเรียกร้องนั้นเป็นอันขาดอายุความ” และมาตรา 193/10 “สิทธิเรียกร้องที่ขาดอายุความ ลูกหนี้มีสิทธิที่จะปฏิเสธการชำระหนี้ตามสิทธิเรียกร้องนั้นได้”

อายุความเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเนื่องจากมีผลกระทบถึงสิทธิในการดำเนินคดีในทางกฎหมายไม่ว่าในทางคดีแพ่ง หรือในคดีอาญา โดยในทางแพ่งหากเจ้าหนี้ไม่ใช้สิทธิเรียกร้องภายในกำหนดอายุความ ลูกหนี้ย่อมปฏิเสธการชำระหนี้ได้ ส่วนในทางอาญาถ้าไม่ได้ตัวผู้กระทำความผิดมาฟ้องภายในกำหนดอายุความสิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับ ย่อมไม่อาจนำตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษได้ ด้วยความสำคัญดังที่กล่าวมานั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจในเรื่องนี้ให้ชัดเจน โดยต้องเข้าใจคำว่า "อายุความ" หมายความว่าอย่างไร ทำไมต้องกำหนดอายุความไว้ด้วย ในแต่ละคดีมีกรณีแตกต่างกันอย่างไร และอายุคววามจะมีผลกระทบกับสิทธิและหน้าที่ในทางกฎหมายอย่างไร

ความหมายเรื่องอายุความ

เรื่องอายุความนั้นโดยสรุปแล้วก็คือระยะเวลาที่กฎหมายในทางสารบัญญัติกำหนดให้ผู้ที่เกี่ยวข้องต้องดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง มิฉะนั้นจะเกิดความเสียหายแก่สิทธิของผู้นั้นหรือทำให้ไม่อาจดำเนินการเพื่อให้บรรลุผลตามที่กฎหมายมุ่งประสงค์ซึ่งสามารถพิจารณาได้ดังนี้คือ

1. ในทางแพ่ง อายุความคือระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดให้ใช้สิทธิเรียกร้องทางศาลหรือระยะเวลาที่กฎหมายบังคับผู้ทรงสิทธิเรียกร้องให้ต้องฟ้องคดีต่อศาล หากไม่ดำเนินการตามที่กำหนดอาจจะเกิดความเสียหายแก่เจ้าของสิทธิได้ คือมีผลให้ "สิทธิเรียกร้องขาดอายุความ" มาตรา 193/9 ที่บัญญัติว่า “สิทธิเรียกร้องใดๆ ถ้ามิได้บังคับภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด สิทธิเรียกร้องนั้นเป็นอันขาดอายุความ” และยังหมายรวมถึงระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ให้ผู้ที่ดำเนินการตามเงื่อนไขจนครบระยะเวลาดังกล่าวได้สิทธิอย่างใดอย่างหนึ่งด้วย สำหรับอายุความในทางแพ่งนั้นมีได้ 2 ประเภทกล่าวคือ "อายุความเสียสิทธิ" และ "อายุความได้สิทธิ" 

อายุความเสียสิทธิ คืออายุความที่กฎหมาย กำหนดให้ผู้ทรงสิทธิบังคับใช้สิทธิ เรียกร้อง หากไม่ดำเนินการภายในกำหนดเช่นนั้นจะทำให้เกิดผลเสียหายแก่ผู้ทรงสิทธิได้หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่าเป็นกำหนดเวลาที่ทำให้สิทธิเรียกร้องขาดสิทธิฟ้องร้องโดยต้องเข้าใจว่าอายุความเสียสิทธินี้คือสิทธิเรียกร้องที่ต้องยื่นฟ้องคดีต่อศาล ไม่ใช่ระยะเวลาที่กำหนดไว้ให้เรียกร้องทวงหนี้ แก่ลูกหนี้แต่อย่างใด เช่นสิทธิเรียกร้องค่าเสียหาย อันเกิดแต่มูลละเมิดมีกำหนดอายุความ 1 ปีนับแต่วันที่ผู้ต้องเสียหายรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้ที่จะพึงใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือ 10 ปีนับแต่วันทำละเมิด มาตรา 448 วรรคหนึ่ง ผู้ต้องเสียหายซึ่งเป็นเจ้าหนี้ต้องฟ้องร้องลูกหนี้ต่อศาลภายในกำหนดระยะเวลาดังกล่าว มิฉะนั้นสิทธเรียกร้องย่อมเป็นอันขาดอายุความ และกรณีที่คดีขาดอายุความหากลูกหนี้ยกเรื่องอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้ ตัดฟ้องซึ่งเรื่องคดีขาดอายุความหรือ ไม่ ในทางแพ่งไม่ใช่ข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลยกขึ้นพิจารณาเองไม่ได้ ถ้าคดีขาดอายุความศาลก็ต้องพิพากษายกฟ้อง

มาตรา 448 สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดนั้น ท่านว่าขาดอายุความเมื่อพ้นปีหนึ่งนับแต่วันที่ผู้ต้องเสียหายรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือเมื่อพ้นสิบปีนับแต่วันทำละเมิด

มาตรา 448 สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดนั้น ท่านว่าขาดอายุความเมื่อพ้นปีหนึ่งนับแต่วันที่ผู้ต้องเสียหายรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือเมื่อพ้นสิบปีนับแต่วันทำละเมิด

 

-Line Official Account : เพิ่มเพื่อนด้วย  QR CODE



หนังสือรับสภาพหนี้ทำให้อายุความมูลหนี้เดิมสะดุดหยุดลง
อายุความฟ้องเรียกค่าทดแทนจากสามีและหญิงชู้
สิทธิฟ้องเรียกเงินคืนผิดสัญญาจะซื้อขาย
อายุความสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่
สิทธิเรียกร้องตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
การฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครอง
ฟ้องผิดตัวอายุความไม่เคยสะดุดหยุดลง-อำนาจฟ้อง
อายุความรับผิดในฐานะตัวแทนไม่มีกฎหมายกำหนดไว้โดยเฉพาะ
อายุความตามสัญญาให้บริการทางการแพทย์อันเป็นเอกเทศสัญญา
อายุความคดีความผิดฐานฉ้อโกง ร้องทุกข์เกิน 3 เดือน
วันวินาศภัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 882 วรรคหนึ่ง
อายุความสะดุดหยุดลงย่อมเป็นคุณเฉพาะแก่ฝ่ายโจทก์
รับสภาพความรับผิดโดยมีหลักฐานเป็นหนังสือ
ผู้ค้ำประกันยกข้อต่อสู้เรื่องขาดอายุความ
ฟ้องเรียกให้ชำระหนี้เงินกู้อย่างเจ้าหนี้สามัญ
ไม่ได้แสดงเหตุแห่งการขาดอายุความ
การชำระหนี้ซึ่งขาดอายุความแล้วจะเรียกคืนไม่ได้
ความรับผิดของผู้เป็นหุ้นส่วนในหนี้ที่ห้างได้ก่อให้เกิดขึ้น
กำหนดหนึ่งเดือนในการเพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่ไม่ใช่อายุความ
หน้า 1/1
1
[Go to top]