ReadyPlanet.com
bulletรับฟ้องคดีแพ่ง/อาญา
bulletพระราชบัญญัติ
bulletป.แพ่งและพาณิชย์
bulletป.อาญา ฎีกา
bulletป.วิอาญา
bulletป.วิแพ่ง
bulletป.กฎหมายที่ดิน
bulletป.รัษฎากร
bulletฟ้องหย่า
bulletอำนาจปกครอง
bulletนิติกรรม
bulletคดีมรดก
bulletอายุความฟ้องร้องคดี
bulletครอบครองปรปักษ์
bulletเอกเทศสัญญา
bulletเกี่ยวกับแรงงาน
bulletเกี่ยวกับคดีอาญา
bulletคดียาเสพติดให้โทษ
bulletตั๋วเงินและเช็ค
bulletห้างหุ้นส่วน-บริษัท
bulletคำพิพากษาและคำสั่ง
bulletทรัพย์สิน/กรรมสิทธิ์
bulletอุทธรณ์ฎีกา
bulletเกี่ยวกับคดีล้มละลาย
bulletเกี่ยวกับวิแพ่ง
bulletเกี่ยวกับวิอาญา
bulletการบังคับคดี
bulletคดีจราจรทางบก
bulletการเล่นแชร์ แชร์ล้ม
bulletอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
bulletมรรยาททนายความ
bulletถอนคืนการให้,เสน่หา
bulletข้อสอบเนติบัณฑิต
bulletคำพิพากษา 2550
bulletทรัพย์สินทางปัญญา
bulletสัญญาขายฝาก
bulletสำนักทนายความ
bulletป-อาญา มาตรา1- 398
bulletภาษาอังกฤษ
bulletการสมรสและการหมั้น
bulletแบบฟอร์มสัญญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2551-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2551-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-วิ-แพ่ง
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-วิ-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2549-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2548-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2547-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2546-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2545-แพ่งพาณิชย์
bulletนิติกรรมสัญญา
bulletพระธรรมนูญศาล
bulletทรัพย์สิน-สามีภริยา
bulletบิดามารดา-รับรองบุตร
bulletคดีครอบครัว
bulletสัญญาระหว่างสมรส
bulletสิทธิครอบครองที่ดิน
bulletสัญญาซื้อขาย
bulletแปลงหนี้ใหม่
bulletการได้กรรมสิทธิ์
bulletคดีเรื่องบุตร
bulletเช่าซื้อรถยนต์
bulletถอนผู้จัดการมรดก
bulletฟ้องค่าทดแทน
bulletฟ้องหย่า-ฟ้องหย่า
bulletสินสมรส-สินสมรส
bulletบันดาลโทสะ
bulletเบิกความเท็จ
bulletสิทธิ-สัญญาเช่า
bulletค้ำประกัน
bulletเจ้าของรวม
bulletจำนอง
bulletลูกหนี้ร่วม
bulletคำพิพากษาฎีกาทั่วไป
bulletกระดานถาม-ตอบ
bulletป-กฎหมายยาเสพติด2564
bulletขนส่งทางทะเล
bulletสมรสเป็นโมฆะ
bulletสามีภริยา
bulletตัวการไม่เปิดเผยชื่อ
bulletทนายความของสภาจัดให้
bulletอาวุธปืน
bulletรับช่วงสิทธิ
bulletแพ่งมาตรา1-1755




เข้าเป็นโจทก์ร่วมต้องเป็นผู้เสียหายโดยนิตินัยด้วย

 เข้าเป็นโจทก์ร่วมต้องเป็นผู้เสียหายโดยนิตินัยด้วย  ประมาทร่วมไม่ใช่ผู้เสียหายโดยนิตินัย

โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 291 ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุ ให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท และพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522  ระหว่างพิจารณาบุตรของนายสมพรผู้ตาย ยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์ ศาลชั้นต้นอนุญาตเฉพาะข้อหากระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย  ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดเฉพาะตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก โจทก์ร่วมอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาค 3 พิพากษายกคำขอเป็นโจทก์ร่วมในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 291 ยกอุทธรณ์ของโจทก์ร่วมโดยเห็นว่าผู้ตายมีส่วนประมาทจึงไม่ใช่ผู้เสียหายโดยนิตินัย โจทก์ร่วมฎีกา ศาลฎีกาเห็นว่า ฟ้องโจทก์ไม่ได้บรรยายว่า ผู้ตายมีส่วนในการกระทำผิดทางอาญาด้วย ดังนั้น ตามฟ้องของโจทก์ถือว่า ผู้ตายเป็นผู้เสียหายโดยนิตินัย สมควรย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่  4992/2553

 พนักงานอัยการจังหวัดนครราชสีมา      โจทก์
 
            คดีนี้โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยขับรถยนต์บรรทุกหกล้อโดยเห็นอยู่แล้วว่าในช่องเดินรถด้านหน้าช่องเดินรถเดียวกับจำเลย มีรถจักรยานยนต์ไม่ติดแผ่นป้ายทะเบียน ซึ่งมี ส. เป็นผู้ขับ กำลังขับสวนทางมา จำเลยยังคงขับรถด้วยความเร็วสูงเกินสมควรโดยไม่ชะลอความเร็วของรถให้ช้าลง เป็นเหตุให้รถที่จำเลยขับพุ่งเข้าเฉี่ยวชนรถจักรยานยนต์ที่ ส. ขับจนล้มลง รถทั้งสองคันได้รับความเสียหายและ ส. ถึงแก่ความตายทันที ฟ้องของโจทก์ไม่ได้บรรยายว่า ผู้ตายมีส่วนในการกระทำผิดทางอาญาด้วย ดังนั้น ตามฟ้องของโจทก์ถือว่า ผู้ตายเป็นผู้เสียหายโดยนิตินัยตาม ป.วิ.อ. มาตรา 2 (4) ข. โจทก์ร่วมซึ่งเป็นบุตรของผู้ตายจึงมีอำนาจจัดการแทนผู้ตายตาม ป.วิ.อ. มาตรา 5 (2) และมีสิทธิขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการตาม ป.วิ.อ. มาตรา 3 (2)

          แม้ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่า เหตุที่รถทั้งสองคันชนกันมิได้เกิดขึ้นจากความประมาทของจำเลย แต่เกิดจากความประมาทของผู้ตายก็ตาม แต่โจทก์ร่วมยื่นอุทธรณ์โต้แย้งคำวินิจฉัยดังกล่าวว่า เหตุเกิดขึ้นเพราะความประมาทของจำเลยฝ่ายเดียว ซึ่งโจทก์ร่วมมีสิทธิที่จะอุทธรณ์ได้ ข้อเท็จจริงจึงยังรับฟังเป็นยุติตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นไม่ได้ว่า เหตุเกิดเนื่องมาจากผู้ตายมีส่วนกระทำโดยประมาทด้วย

            โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91, 291 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 มาตรา 43, 78, 157, 160
          จำเลยให้การปฏิเสธ

        ระหว่างพิจารณา นางสาวขนิษฐา บุตรของนายสมพรผู้ตาย ยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์ ศาลชั้นต้นอนุญาตเฉพาะข้อหากระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย สำหรับข้อหาตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 โจทก์ร่วมไม่เป็นผู้เสียหาย จึงไม่อนุญาต

          ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 มาตรา 78 วรรคหนึ่ง, 160 วรรคหนึ่ง จำคุก 1 เดือน และปรับ 4,000 บาท โทษจำคุกรอการลงโทษไว้มีกำหนด 2 ปี (ที่ถูก ต้องระบุด้วยว่าตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56) ไม่ชำระค่าปรับให้จัดการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 29, 30 ข้อหาอื่นนอกจากนี้ให้ยก

          โจทก์ร่วมอุทธรณ์

          ศาลอุทธรณ์ภาค 3 พิพากษายกคำขอเป็นโจทก์ร่วมในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 291 ยกอุทธรณ์ของโจทก์ร่วม และให้บังคับไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น

          โจทก์ร่วมฎีกา

          ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า มีปัญหาต้องวินิจฉัยตามฎีกาของโจทก์ร่วมว่า ที่ศาลอุทธรณ์ภาค 3 ยกคำขอเป็นโจทก์ร่วมในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 291 และยกอุทธรณ์ของโจทก์ร่วมชอบหรือไม่ เห็นว่า คดีนี้โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยขับรถยนต์บรรทุกหกล้อโดยเห็นอยู่แล้วว่าในช่องเดินรถด้านหน้าช่องเดินรถเดียวกับจำเลยมีรถจักรยานยนต์ไม่ติดแผ่นป้ายทะเบียน ซึ่งมีนายสมพร เป็นผู้ขับ กำลังขับสวนทางมา จำเลยยังคงขับรถด้วยความเร็วสูงเกินสมควรโดยไม่ชะลอความเร็วของรถให้ช้าลง เป็นเหตุให้รถที่จำเลยขับพุ่งเข้าเฉี่ยวชนรถจักรยานยนต์ที่นายสมพรขับจนล้มลง รถทั้งสองคันได้รับความเสียหายและนายสมพรถึงแก่ความตายทันที ฟ้องของโจทก์ไม่ได้บรรยายว่า ผู้ตายมีส่วนในการกระทำผิดทางอาญาด้วย ดังนั้น ตามฟ้องของโจทก์ถือว่า ผู้ตายเป็นผู้เสียหายโดยนิตินัยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 (4) โจทก์ร่วมซึ่งเป็นบุตรของผู้ตายจึงมีอำนาจจัดการแทนผู้ตายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5 (2) และมีสิทธิขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 3 (2) แม้ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่าเหตุที่รถทั้งสองคันชนกัน มิได้เกิดขึ้นจากความประมาทของจำเลย แต่เกิดจากความประมาทของผู้ตายก็ตาม แต่โจทก์ร่วมยื่นอุทธรณ์โต้แย้งคำวินิจฉัยดังกล่าวว่า เหตุเกิดขึ้นเพราะความประมาทของจำเลยฝ่ายเดียว ซึ่งโจทก์ร่วมมีสิทธิที่จะอุทธรณ์ได้ ข้อเท็จจริงจึงยังรับฟังเป็นยุติตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นไม่ได้ว่าเหตุเกิดเนื่องมาจากผู้ตายมีส่วนกระทำโดยประมาทด้วย ชอบที่ศาลอุทธรณ์ภาค 3 จะวินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์ร่วมดังกล่าวเสียก่อน ที่ศาลอุทธรณ์ภาค 3 ยกคำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์และยกอุทธรณ์ของโจทก์ร่วมนั้น ศาลฎีกาไม่เห็นพ้องด้วย ฎีกาของโจทก์ร่วมฟังขึ้น และเห็นสมควรย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์ภาค 3 พิจารณาพิพากษาใหม่ เพื่อให้การวินิจฉัยความผิดของจำเลยเป็นไปตามลำดับชั้นศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 208 (2) ประกอบมาตรา 225

          พิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 ให้ศาลอุทธรณ์ภาค 3 วินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์ร่วมแล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี

อำนาจยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์, การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่  19816/2555

          โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทั้งสองร่วมกันลักปุ๋ยของสหกรณ์การเกษตร ด.(เดชอุดม) ผู้เสียหายที่เป็นของนายจ้างไป แต่กลับได้ความตามทางพิจารณาเกี่ยวกับทางปฏิบัติในการซื้อปุ๋ยของสหกรณ์การเกษตร ด. ผู้ขายว่า ต้องมีการขนส่งปุ๋ยมาตรวจนับ ณ ที่ทำการของสหกรณ์การเกษตร ด. ก่อนการชำระค่าปุ๋ยตามจำนวนที่ตรวจนับได้ ดังนี้ถือว่าสหกรณ์การเกษตร ด. และผู้ขายซึ่งเป็นคู่สัญญามีเจตนาเอาการตรวจนับปุ๋ย ณ ที่ทำการของสหกรณ์การเกษตร ด. เป็นสาระสำคัญในการโอนกรรมสิทธิ์ปุ๋ยกัน เมื่อปุ๋ยตามฟ้องสูญหายไประหว่างขนส่งก่อนการตรวจนับ กรรมสิทธิ์ในปุ๋ยจึงยังไม่ตกเป็นของสหกรณ์การเกษตร ด.

            แม้คดีนี้เป็นคดีอาญาความผิดต่อแผ่นดินซึ่งพนักงานสอบสวนมีอำนาจสอบสวนโดยไม่มีผู้ร้องทุกข์ก็ตาม แต่เมื่อสหกรณ์การเกษตร ด. ยังไม่ได้กรรมสิทธิ์ในปุ๋ยจึงไม่ใช่ผู้เสียหาย และไม่มีอำนาจยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์
 




เกี่ยวกับวิธีพิจารณาความแพ่ง

ฟ้องแย้งของจำเลยแตกต่างกันกับคำฟ้องเดิม
ค่าสินไหมทดแทนที่จำนวนเงินไม่แน่นอนต้องนำสืบพยาน
ความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล
ข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลอุทธรณ์
ฟ้องปลูกสร้างผิดต่อข้อบัญญัติของกรุงเทพมหานคร
ศาลอุทธรณ์พิพากษาเกินคำขอ
คดีที่มีคำขอปลดเปลื้องทุกข์มีทุนทรัพย์
รับฟังพยานหลักฐานฝ่าฝืนกฎหมาย
ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
หน้าที่ในการเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน
ขาดนัดยื่นคำให้การ-สิทธิถามค้าน การพิจารณาผิดระเบียบ
โจทก์ร่วมไม่จำต้องจัดทำคำให้การใหม่เพื่อแก้คำให้การและฟ้องแย้งของจำเลย
วันนัดชี้สองสถาน
ห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริง
คำร้องสอด
การส่งคำสั่งอายัดของเจ้าพนักงานบังคับคดี
สิทธิในฐานะผู้รับจำนอง -ขอรับชำระหนี้ได้ก่อนเจ้าหนี้อื่น
การบรรยายคำฟ้องที่มิได้ระบุวัน เวลาที่แน่ชัดว่าเป็นวันที่เท่าใด ฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม
ฟ้องแย้งไม่เกี่ยวกับฟ้องเดิม
ยื่นฟ้องคดีอันไม่มีข้อพิพาทแต่ได้มีบุคคลอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องในคดี
การยื่นคำร้องในชั้นบังคับคดีไม่เป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ
ส่งสำเนาคำฟ้องให้จำเลยไม่ครบหน้าฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม
คู่ความจะนำคดีเรื่องที่เคยพิพาทมาฟ้องกันใหม่อีกไม่ได้
การยื่นอุทธรณ์คำสั่งภายในกำหนด 1 เดือน
ฟ้องขับไล่- แสดงอำนาจพิเศษต่อศาลภายในกำหนดเวลา 8 วัน
เพิกถอนการขายทอดตลาดหากเป็นประวิงให้ชักช้าต้องรับผิดชดค่าสินไหมทดแทน
ผู้สวมสิทธิเป็นเจ้าหนี้เป็นผู้มีส่วนได้เสีย เพิกถอนการขายทอดตลาด
ฟ้องขอให้พิพากษาเพิกถอนคำสั่งศาลชั้นต้น-ได้กรรมสิทธิ์โดยการครอบครองปรปักษ์
ในคดีเดิมเป็นเพียงคู่ความตกลงยุติคดีไม่ดำเนินการต่อเท่านั้นไม่เป็นฟ้องซ้ำ
พิพากษาที่เกินคำขอและขัดต่อ ป.พ.พ. มาตรา 1548 อันเป็นการไม่ชอบ
การยื่นและการส่งคำคู่ความในคดีฟอกเงิน
ให้คู่ความฝ่ายที่แพ้คดีต้องชดใช้ค่าฤชาธรรมเนียม
สัญญาประนีประนอมยอมความตกลงยุติคดี-ฟ้องซ้ำ
ค่าขาดไร้อุปการะเป็นหนี้ที่แบ่งแยกเป็นส่วนแต่ละคน
เจ้าหนี้ผู้รับจำนองขอรับชำระหนี้จากการขายทอดตลาดที่ดิน
การมีอยู่ขององค์กรสาธารณประโยชน์ที่ได้รับรองแล้ว
กระบวนพิจารณาชั้นบังคับคดีตามคำพิพากษา-ฟ้องซ้ำ
ยื่นคำร้องสอดเข้ามาในคดีเพื่อเป็นคู่ความฝ่ายที่สามในคดีอาญา
อายัดเงินปันผลของหุ้นได้แม้จะพ้นระยะเวลา 10 ปีแล้ว
เจ้าหนี้บุริมสิทธิ มิได้ร้องขอให้บังคับคดีภายในสิบปี
คำสั่งเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง นอกฟ้องนอกประเด็น
สิทธิได้รับชำระหนี้ก่อนของผู้รับจำนอง
ฟ้องซ้ำ คดีถึงที่สุดห้ามมิให้คู่ความเดียวกันรื้อร้องฟ้องกันอีก
โจทก์และจำเลยต่างมีสภาพเป็น"เจ้าหนี้" และ "ลูกหนี้" ตามคำพิพากษา
จำเลยไม่ใช่บุคคลซึ่งเป็นฝ่ายชนะจึงไม่มีสิทธิขอให้ศาลออกคำบังคับ
ไม่เกินห้าหมื่นบาทห้ามมิให้คู่ความอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง
การร้องขอให้ศาลสั่งปล่อยทรัพย์ที่ถูกยึดต้องอ้างว่าจำเลยไม่ใช่เจ้าของทรัพย์
เงื่อนเวลาเริ่มต้น-สิ้นสุดให้สันนิษฐานว่าเพื่อประโยชน์แก่ฝ่ายลูกหนี้
นำใบแต่งทนายความซึ่งปลอมลายมือชื่อไปทำสัญญายอม
อำนาจว่าความหรือดำเนินกระบวนพิจารณาของทนายความในศาล
ฟ้องเคลือบคลุม, สัญญาซื้อขายมีเงื่อนไข, วางประจำไว้หรือได้ชำระหนี้บางส่วนแล้ว
คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่อนุญาตให้จำเลยยื่นคำให้การ
ค่าเสียหายตามคำพิพากษาและค่าฤชาธรรมเนียมใช้แทน
ผู้ร้องสอดต้องมีส่วนได้เสียกับคู่ความเดิมถือเป็นคู่ความฝ่ายที่สาม
แก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อยเป็นข้อยกเว้นตาม ป.วิ.แพ่ง มาตรา 180
ยื่นเอกสารฝ่าฝืนต่อกฎหมายไม่อาจรับฟังเป็นพยานได้(ยื่นชั้นอุทธรณ์ฎีกา)
จำเลยฟ้องแย้ง-โจทก์ทิ้งฟ้อง ไม่มีผลให้ฟ้องแย้งตกไป
อำนาจปกครองบุตร-มูลคดีเกิดขึ้นในเขตศาลใด?
ดุลพินิจสั่งค่าฤชาธรรมเนียมคำนึงความสุจริตของคู่ความ
พินัยกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่?ไม่มีประเด็นข้อพิพาท
มีเส้นทางอื่นออกไม่ตัดสิทธิขอคุ้มครองประโยชน์
คำขอให้คุ้มครองชั่วคราวก่อนมีคำพิพากษา
คำร้องขอขยายระยะเวลาในการวางเงินค่าธรรมเนียมตามมาตรา 229
ผู้อุทธรณ์ต้องนำเงินมาชำระตามคำพิพากษา
ศาลชั้นต้นสั่งรับอุทธรณ์แล้วคดีอยู่ในอำนาจศาลอุทธรณ์
คำสั่งรับหรือไม่รับอุทธรณ์ของจำเลย
ไม่รับรองให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
การส่งหมายนัดไต่สวน-สำเนาคำร้องไม่ชอบ
คำสั่งให้โจทก์นำส่งหมายนัดและสำเนาคำฟ้อง
เพิกถอนการขายทอดตลาด
คำฟ้องโจทก์ไม่มีลายมือชื่อของผู้เรียงพิมพ์
คณะบุคคลไม่อาจเป็นคู่ความในคดีได้
มอบอำนาจให้ฟ้องคดีไว้ล่วงหน้าก่อนเกิดสิทธิฟ้อง
หนังสือมอบอำนาจให้ฟ้องคดีแทนระบุชื่อศาลผิด
หน้าที่นำสืบหักล้างข้อสันนิษฐาน
อำนาจฟ้องที่รัฐเป็นผู้เสียหาย
ปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน
วินิจฉัยนอกเหนือไปจากคำฟ้องและคำให้การ
ใครมีอำนาจอนุญาตให้ฎีกาในข้อเท็จจริงได้
การถอนการบังคับคดี | คำพิพากษาถูกกลับชั้นที่สุด
ยังไม่ผิดสัญญายังไม่มีเหตุขอออกหมายบังคับคดีได้
แจ้งคำสั่งขายทอดตลาดแก่ผู้มีส่วนได้เสีย คู่สมรสไม่มีชื่อในโฉนดที่ดิน
คำสั่งศาลที่ไม่รับอุทธรณ์คำสั่งไม่ชอบ
ขอให้เพิกถอนการพิจารณาคดีของศาล มีพยานหลักฐานใหม่
ผู้เสียหายฐานละเมิดอำนาจศาล