ReadyPlanet.com
bulletรับฟ้องคดีแพ่ง/อาญา
bulletพระราชบัญญัติ
bulletป.แพ่งและพาณิชย์
bulletป.อาญา ฎีกา
bulletป.วิอาญา
bulletป.วิแพ่ง
bulletป.กฎหมายที่ดิน
bulletป.รัษฎากร
bulletฟ้องหย่า
bulletอำนาจปกครอง
bulletนิติกรรม
bulletคดีมรดก
bulletอายุความฟ้องร้องคดี
bulletครอบครองปรปักษ์
bulletเอกเทศสัญญา
bulletเกี่ยวกับแรงงาน
bulletเกี่ยวกับคดีอาญา
bulletคดียาเสพติดให้โทษ
bulletตั๋วเงินและเช็ค
bulletห้างหุ้นส่วน-บริษัท
bulletคำพิพากษาและคำสั่ง
bulletทรัพย์สิน/กรรมสิทธิ์
bulletอุทธรณ์ฎีกา
bulletเกี่ยวกับคดีล้มละลาย
bulletเกี่ยวกับวิแพ่ง
bulletเกี่ยวกับวิอาญา
bulletการบังคับคดี
bulletคดีจราจรทางบก
bulletการเล่นแชร์ แชร์ล้ม
bulletอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
bulletมรรยาททนายความ
bulletถอนคืนการให้,เสน่หา
bulletข้อสอบเนติบัณฑิต
bulletคำพิพากษา 2550
bulletทรัพย์สินทางปัญญา
bulletสัญญาขายฝาก
bulletสำนักทนายความ
bulletป-อาญา มาตรา1- 398
bulletภาษาอังกฤษ
bulletการสมรสและการหมั้น
bulletแบบฟอร์มสัญญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2551-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2551-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-วิ-แพ่ง
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-วิ-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2549-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2548-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2547-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2546-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2545-แพ่งพาณิชย์
bulletนิติกรรมสัญญา
bulletพระธรรมนูญศาล
bulletทรัพย์สิน-สามีภริยา
bulletบิดามารดา-รับรองบุตร
bulletคดีครอบครัว
bulletสัญญาระหว่างสมรส
bulletสิทธิครอบครองที่ดิน
bulletสัญญาซื้อขาย
bulletแปลงหนี้ใหม่
bulletการได้กรรมสิทธิ์
bulletคดีเรื่องบุตร
bulletเช่าซื้อรถยนต์
bulletถอนผู้จัดการมรดก
bulletฟ้องค่าทดแทน
bulletฟ้องหย่า-ฟ้องหย่า
bulletสินสมรส-สินสมรส
bulletบันดาลโทสะ
bulletเบิกความเท็จ
bulletสิทธิ-สัญญาเช่า
bulletค้ำประกัน
bulletเจ้าของรวม
bulletจำนอง
bulletลูกหนี้ร่วม
bulletคำพิพากษาฎีกาทั่วไป
bulletกระดานถาม-ตอบ
bulletป-กฎหมายยาเสพติด2564
bulletขนส่งทางทะเล
bulletสมรสเป็นโมฆะ
bulletสามีภริยา
bulletตัวการไม่เปิดเผยชื่อ
bulletทนายความของสภาจัดให้
bulletอาวุธปืน
bulletรับช่วงสิทธิ
bulletแพ่งมาตรา1-1755




ความเหมาะสมในการเป็นผู้จัดการมรดก

ความเหมาะสมในการเป็นผู้จัดการมรดก

บุคคลที่ศาลจะตั้งเป็นผู้จัดการมรดก นอกจากจะต้องมีคุณสมบัติไม่ต้องห้ามตาม ป.พ.พ. มาตรา 1718 แล้ว ยังต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมอื่นๆ ประกอบด้วย การที่ผู้ร้องเป็นเจ้าหนี้ผู้ตายโดยเป็นหนี้ที่เกิดจากการกู้ยืม ตามหนังสือรับรองว่าเป็นหนี้และสัญญากู้เงิน ซึ่งการที่ผู้จัดการมรดกเป็นเจ้าหนี้กองมรดกอยู่เป็นจำนวนมากจึงอยู่สองสถานะ คือเป็นทั้งเจ้าหนี้และลูกหนี้ การจัดการมรดกอาจมีผลกระทบต่อประโยชน์ส่วนได้เสียของทายาทอื่นโดยตรง  จากพฤติการณ์แวดล้อมทำให้เชื่อว่าถ้าผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกจะมีอุปสรรคและมีข้อโต้แย้งกับเครือญาติ ผู้ร้องจึงไม่เหมาะสมที่จะเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6166 - 6167/2552

มาตรา 1718  บุคคลต่อไปนี้จะเป็นผู้จัดการมรดกไม่ได้
(1) ผู้ซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ
(2) บุคคลวิกลจริต หรือบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นผู้เสมือนไร้ความสามารถ
(3) บุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนล้มละลาย

  บุคคลที่ศาลจะตั้งเป็นผู้จัดการมรดก นอกจากจะต้องมีคุณสมบัติไม่ต้องห้ามตาม ป.พ.พ. มาตรา 1718 แล้ว ยังต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมอื่นๆ ประกอบด้วยที่ผู้ร้องเบิกความว่าผู้ร้องเป็นเจ้าหนี้ผู้ตายจำนวน 8,000,000 บาท โดยเป็นหนี้ที่เกิดจากการกู้ยืม ตามหนังสือรับรองว่าเป็นหนี้และสัญญากู้เงิน ซึ่งการที่ผู้จัดการมรดกเป็นเจ้าหนี้กองมรดกอยู่เป็นจำนวนมากจึงอยู่สองสถานะ คือเป็นทั้งเจ้าหนี้และลูกหนี้ การจัดการมรดกอาจมีผลกระทบต่อประโยชน์ส่วนได้เสียของทายาทอื่นโดยตรงทั้งก่อนผู้ตายจะถึงแก่กรรมประมาณ 10 วัน ผู้ตายได้ไปแจ้งความไว้เป็นหลักฐานว่าโฉนดที่ดินเอกสารหมาย ร.8 ถึง ร.12 หายไป แต่กลับปรากฏว่าโฉนดที่ดินทั้ง 5 ฉบับ อยู่ที่ผู้ร้อง โดยผู้ร้องเบิกความอ้างว่าผู้ตายมอบให้ผู้ร้องเพื่อเป็นหลักประกันในการชำระหนี้เงินกู้ ซึ่งถ้าผู้ตายมอบให้จริงก็ไม่น่าหลงลืมจนไปแจ้งความ นอกจากนี้ผู้ร้องยังเป็นผู้มีอารมณ์รุนแรง มีสาเหตุกับบุตรและหลานของตนเองจนกระทั่งผู้คัดค้านที่ 1 และ ส. ซึ่งเป็นหลานไปแจ้งความไว้เป็นหลักฐาน จากพฤติการณ์ดังกล่าวทำให้เชื่อว่าถ้าผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกจะมีอุปสรรคและมีข้อโต้แย้งกับเครือญาติ ผู้ร้องจึงไม่เหมาะสมที่จะเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย
 
  คดีทั้งสองสำนวนนี้ ศาลชั้นต้นสั่งให้รวมพิจารณาเป็นคดีเดียวกัน โดยให้เรียกผู้ร้องในสำนวนแรกว่า ผู้ร้อง เรียกผู้ร้องในสำนวนหลังซึ่งเป็นผู้คัดค้านที่ 1 ในสำนวนแรกว่า ผู้คัดค้านที่ 1 และเรียกผู้คัดค้านที่ 2 ในสำนวนแรกว่า ผู้คัดค้านที่ 2
          ผู้ร้องยื่นคำร้องขอว่า ผู้ร้องเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของนางล่ำ ผู้ตายซึ่งถึงแก่กรรมโดยไม่ได้ตั้งบุคคลใดเป็นผู้จัดการมรดกไว้ การจัดการมรดกมีเหตุขัดข้อง ขอให้ศาลมีคำสั่งตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย

 ผู้คัดค้านที่ 1 ยื่นคำคัดค้านในสำนวนแรกและยื่นคำร้องขอในสำนวนหลังว่าผู้ตายถึงแก่กรรมโดยทำพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองไว้ ณ สำนักงานเขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร โดยพินัยกรรมระบุให้ตั้งผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกผู้ร้องมีคุณสมบัติไม่เหมาะสมที่จะเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย เพราะปกปิดและเบียดบังทรัพย์มรดก จึงขอให้ศาลมีคำสั่งยกคำร้องขอของผู้ร้อง และตั้งผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย
          ผู้คัดค้านที่ 2 ยื่นคำคัดค้านว่า ผู้คัดค้านที่ 2 เป็นบุตรของผู้ตายและเป็นพี่สาวของผู้ร้อง ผู้ตายทำพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองยกทรัพย์มรดกบางส่วนให้ผู้คัดค้านที่ 1 ซึ่งเป็นหลานของผู้ตาย รวมทั้งยกให้บุคคลอื่นอีก ผู้ร้องมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจะเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ขอให้ยกคำร้องขอของผู้ร้องและมีคำสั่งตั้งผู้คัดค้านที่ 2 เป็นผู้จัดการมรดกหรือเป็นผู้จัดการมรดกร่วมกับผู้ร้องในส่วนของทรัพย์มรดกนอกพินัยกรรมของผู้ตาย

          ศาลชั้นต้นมีคำสั่งตั้งผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมและมีคำสั่งตั้งผู้คัดค้านที่ 2 เป็นผู้จัดการมรดกในส่วนของทรัพย์มรดกนอกพินัยกรรมกับให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย ให้ยกคำร้องขอของผู้ร้องค่าฤชาธรรมเนียมให้เป็นพับ
          ผู้ร้องอุทธรณ์

   ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์ให้เป็นพับ

          ผู้ร้องอุทธรณ์
   ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์ให้เป็นพับ

          ผู้ร้องฎีกา

   ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า “...ข้อเท็จจริงรับฟังเป็นยุติว่า นางล่ำ เจ้ามรดกถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2544 มีบุตรและหลานปรากฏตามบัญชีเครือญาติ ผู้ร้องและผู้คัดค้านที่ 2 เป็นบุตรของผู้ตาย ส่วนผู้คัดค้านที่ 1 เป็นบุตรของผู้ร้องและหลานผู้ตาย ปัญหาที่ต้องวินิจฉัยตามฎีกาของผู้ร้องข้อแรกมีว่าพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองเป็นเอกสารปลอมหรือไม่ ส่วนบุคคลใดเหมาะสมเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายนั้น จะวินิจฉัยรวมกันไปภายหลัง เห็นว่า นายดนัย ผู้คัดค้านที่ 1 เบิกความตอบคำถามค้านยืนยันว่า พยานเดินทางไปสำนักงานเขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร กับผู้ตายเพียง 2 คน เพื่อทำพินัยกรรมและอยู่กับผู้ตายโดยตลอด พยานเห็นผู้ตายลงลายมือชื่อในพินัยกรรมเพราะทำต่อหน้าพยาน ขณะนั้นผู้ตายมีสุขภาพแข็งแรง นอกจากผู้คัดค้านที่ 1 แล้วยังมีนายสุวิทย์ หัวหน้าฝ่ายทะเบียนสำนักงานเขตพระโขนงผู้จัดทำพินัยกรรมและนางสาวรัตนา เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับงานทะเบียนทั่วไปกับนายพนอม ซึ่งลงลายมือชื่อเป็นพยานในพินัยกรรมมาเบิกความด้วยโดยต่างเบิกความยืนยันตรงกันในข้อสาระสำคัญว่าผู้ตายได้ไปทำพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองที่สำนักงานเขตพระโขนงจริง ผู้ตายมีสุขภาพแข็งแรง และมีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์ และได้ลงลายมือชื่อต่อหน้าพนักงานโดยเฉพาะนายสุวิทย์เบิกความว่าพยานได้จัดทำพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองให้ผู้ตายขั้นตอนแรกผู้ตายต้องยื่นคำร้องขอทำพินัยกรรม จากนั้นจะต้องให้รายละเอียดว่าจะทำพินัยกรรมยกทรัพย์ให้แก่ใคร และมีทรัพย์อะไรบ้างที่จะตกทอดเป็นมรดกจากนั้นจะตรวจเอกสารประจำตัวคือบัตรประจำตัวประชาชน ทะเบียนบ้าน ใบรับรองแพทย์ เพื่อที่จะดูว่าผู้ทำพินัยกรรมมีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์หรือไม่ เมื่อเสร็จขั้นตอนพิมพ์พินัยกรรมโดยเจ้าหน้าที่แล้วจะอ่านให้ผู้ทำพินัยกรรมฟัง เมื่อยืนยันว่าถูกต้องจึงจะให้ลงลายมือชื่อต่อหน้าพยาน 2 คน พยานจะลงลายมือในฐานะผู้อำนวยการเขตแล้วประทับตราของเขต พยานปากนี้ยืนยันว่าผู้ตายลงลายมือชื่อในพินัยกรรมในขณะที่มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์พยาน 3 ปากหลังนี้เป็นเจ้าพนักงานของรัฐกระทำการไปตามหน้าที่ไม่มีส่วนได้เสีย เชื่อว่าเบิกความไปตามจริง ทั้งยังได้ความจากคำเบิกความจากนางจารุณี ผู้คัดค้านที่ 2 ซึ่งไม่มีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกตามพินัยกรรมเช่นกันเบิกความสนับสนุนว่าพยานทราบเรื่องผู้ตายไปทำพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองที่สำนักงานเขตพระโขนงแต่ในวันที่ไปทำพินัยกรรมพยานไม่ได้ไปด้วย เมื่อผู้ตายถึงแก่ความตาย ตอนที่ผู้คัดค้านที่ 1 ไปรับพินัยกรรมจากสำนักงานเขตนั้นพยานไปด้วยพยานของผู้คัดค้านมีน้ำหนักเชื่อได้ว่าผู้ตายทำพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองจริง การที่ผู้ร้องพยายามจะแสดงว่าลายมือชื่อในพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง แตกต่างไปจากลายมือชื่อที่เคยลงไว้ในเอกสารต่างๆ เช่น ตามเอกสาร จ.13, จ.15 ถึง จ.20 นั้นนอกจากลายมือชื่อในเอกสารดังกล่าวไม่อาจยืนยันว่าเป็นลายมือชื่อของผู้ตายจริงหรือไม่แล้ว ยังไม่อาจทำลายความน่าเชื่อถือของพยานฝ่ายผู้คัดค้านดังกล่าวที่มีน้ำหนักมากกว่าได้ ข้อเท็จจริงจึงฟังว่าผู้ตายได้ทำพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองจริง

          ปัญหาต่อไปมีว่า ผู้ใดเหมาะสมที่จะเป็นผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมและทรัพย์มรดกนอกพินัยกรรม ในปัญหาข้อนี้ผู้ร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายทั้งหมด ผู้คัดค้านที่ 1 ขอเป็นผู้จัดการมรดกเกี่ยวกับทรัพย์ตามข้อกำหนดในพินัยกรรมเท่านั้น ส่วนผู้คัดค้านที่ 2 ขอเป็นผู้จัดการมรดกเฉพาะทรัพย์นอกพินัยกรรม เห็นว่า บุคคลที่ศาลจะตั้งเป็นผู้จัดการมรดก นอกจากจะต้องมีคุณสมบัติไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1718 แล้ว ยังต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมอื่นๆ ประกอบด้วยสำหรับผู้ร้องเบิกความว่าผู้ร้องเป็นเจ้าหนี้ผู้ตายจำนวน 8,000,000 บาท โดยเป็นหนี้ที่เกิดจากการกู้ยืมตามหนังสือรับว่าเป็นหนี้และสัญญากู้เงินซึ่งการที่ผู้จัดการมรดกเป็นเจ้าหนี้กองมรดกอยู่เป็นจำนวนมากจึงอยู่สองสถานะ คือเป็นทั้งเจ้าหนี้และลูกหนี้การจัดการมรดกอาจมีผลกระทบต่อประโยชน์ส่วนได้เสียของพยานอื่นโดยตรงโดยเฉพาะผู้ร้องเบิกความตอบคำถามค้านผู้คัดค้านที่ 1 ว่า “...เนื่องจากข้าพเจ้าได้เข้าไปคุยกับผู้ตายและได้ถามถึงจำนวนเงินที่ข้าพเจ้าได้ส่งให้ตั้งแต่อยู่ประเทศซาอุดีอาระเบียและประเทศสหรัฐอเมริกาและรวมกำไรจากการขายที่ดินแล้ว ข้าพเจ้าเห็นว่าเป็นจำนวนมาก จึงขอให้ผู้ตายทำหลักฐานเป็นหนังสือให้จึงได้เขียนหนังสือรับว่าเป็นหนี้โดยข้าพเจ้ากรอกให้ผู้ตายลงชื่อ ต่อมาข้าพเจ้าได้ให้ผู้ตายทำสัญญากู้ไว้ให้ข้าพเจ้าตามหนังสือรับว่าเป็นหนี้และสัญญากู้เงิน” แสดงว่าหนี้ดังกล่าวมิใช่หนี้เงินกู้โดยตรง อาจถูกพยานอื่นโต้แย้งได้ ทั้งก่อนผู้ตายจะถึงแก่กรรมประมาณ 10 วัน ผู้ตายได้ไปแจ้งความไว้เป็นหลักฐานว่าโฉนดที่ดินหายไปแต่กลับปรากฏว่าโฉนดที่ดินทั้ง 5 ฉบับอยู่ที่ผู้ร้อง โดยผู้ร้องเบิกความอ้างว่า ผู้ตายมอบให้ผู้ร้องเพื่อเป็นหลักประกันในการชำระหนี้เงินกู้ข้างต้น ซึ่งถ้าผู้ตายมอบให้จริงก็ไม่น่าหลงลืมจนไปแจ้งความ นอกจากนี้ผู้ร้องยังเป็นผู้มีอารมณ์รุนแรง มีสาเหตุกับบุตรและหลานของตนเองจนกระทั่งผู้คัดค้านที่ 1 และนายสุชิน ซึ่งเป็นหลานไปแจ้งความไว้เป็นหลักฐานจากพฤติการณ์ดังกล่าวมาทำให้เชื่อว่า ถ้าผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกจะมีอุปสรรคและมีข้อโต้แย้งกับเครือญาติ ผู้ร้องจึงไม่เหมาะสมที่จะเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย

          ส่วนผู้คัดค้านที่ 1 นอกจากไม่เป็นบุคคลต้องห้ามตามกฎหมายแล้วทายาทตามพินัยกรรมต่างเต็มใจให้ผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดก ผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้มีวุฒิภาวะ ทั้งมีข้อกำหนดในพินัยกรรมให้ผู้คัดค้านที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดก ผู้คัดค้านที่ 1 จึงเหมาะสมที่จะเป็นผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรม สำหรับผู้คัดค้านที่ 2 เป็นพี่สาวของผู้ร้อง ไม่มีคุณสมบัติต้องห้ามตามกฎหมาย ได้รับการยอมรับจากทายาทอื่นๆ และมีความประสงค์จัดการทรัพย์เฉพาะนอกพินัยกรรมเท่านั้นเชื่อว่าการจัดการทรัพย์มรดกนอกพินัยกรรมจะดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย ที่ศาลล่างทั้งสองมีคำสั่งตั้งผู้คัดค้านที่ 1 และผู้คัดค้านที่ 2 เป็นผู้จัดการมรดกตามขอนั้น ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย ฎีกาของผู้ร้องฟังไม่ขึ้น ส่วนฎีกาข้ออื่นของผู้ร้องไม่ทำให้คำวินิจฉัยเปลี่ยนแปลงไปจึงไม่วินิจฉัยให้”

          พิพากษายืน ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นฎีกาให้เป็นพับ




คดีมรดก ร้องศาลตั้งผู้จัดการมรดก

พินัยกรรมของผู้ตายที่ห้ามโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินตกเป็นโมฆะ, ข้อห้ามในพินัยกรรมเป็นโมฆะ, ผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรม
ถอนผู้จัดการมรดก, การปันมรดกเสร็จสิ้นแล้ว, การจัดการศาลจ้าวไม่เป็นมรดก, ศาลจ้าวใต้เซียฮุดโจ๊วเป็นกุศลสถาน
ที่ดินของรัฐ มรดกของผู้ตาย, ที่ดินนิคมสหกรณ์, สิทธิทำประโยชน์ในที่ดิน, สิทธิเหนือพื้นดิน, การเพิกถอนโฉนดที่ดิน,
การโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาทในกองมรดก, การเพิกถอนนิติกรรมในทรัพย์มรดก, การขายทรัพย์มรดกเพื่อชำระหนี้, ผู้จัดการมรดกกับสิทธิและหน้าที่
มรดกตกทอด, การเพิกถอนการสละมรดก, อายุความในการฟ้องคดีมรดก, สิทธิเรียกร้องแทนลูกหนี้
หนังสือแต่งตั้งผู้รับโอนประโยชน์ในเงินทุนเรือนหุ้นของสหกรณ์ไม่ถือเป็นพินัยกรรม, เงินสงเคราะห์สมาชิกสหกรณ์, สิทธิผู้รับโอนประโยชน์ในเงินสงเคราะห์
นิติกรรมซื้อขายที่ดินซึ่งเป็นคนต่างด้าว, คดีมรดกที่ดินของคนต่างด้าว, อายุความคดีมรดก, การยักยอกทรัพย์มรดก
พินัยกรรมยกมรดกให้พี่น้องร่วมบิดามารดา, สิทธิของผู้สืบสันดานในการรับมรดกแทนที่, การฟ้องเรียกค่าเช่าจากทรัพย์สินมรดก
การกำจัดทายาทมิให้รับมรดก, สิทธิรับมรดกของผู้สืบสันดานเมื่อทายาทถูกกำจัด, การเพิกถอนนิติกรรมโอนกรรมสิทธิ์ทรัพย์มรดก
เพิกถอนนิติกรรมการโอนมรดก, การฟ้องแบ่งมรดกของผู้ตาย, การยกอายุความในคดีมรดก, สินสมรสและสินส่วนตัวในกองมรดก
ผู้จัดการมรดกและการโอนทรัพย์มรดก, พินัยกรรมด้วยวาจา ป.พ.พ. มาตรา 1663, การครอบครองทรัพย์มรดกแทนทายาท
สิทธิทายาทในมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง, ทายาทตายก่อนแบ่งมรดก, รับมรดกแทนที่ มาตรา 1639,
สิทธิการฟ้องขอแบ่งมรดกของทายาท, การเพิกถอนนิติกรรมการโอนที่ดินมรดก, สินสมรสหลังคู่สมรสเสียชีวิต
สัญญาประกันชีวิต, สัญญาเพื่อประโยชน์บุคคลภายนอก, ผู้ทำประกันชีวิตและผู้รับผลประโยชน์ตายพร้อมกัน
การจัดการหนี้สินในกองมรดก, สิทธิของเจ้าหนี้กองมรดก, ที่ดินมรดกและการบังคับคดี
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการโอนมรดก
ผู้จัดการมรดกปฏิบัติผิดหน้าที่-ทายาทผู้มีสิทธิฟ้องขอแบ่งทรัพย์มรดกได้
ผู้จัดการมรดกร่วมถึงแก่ความตายต้องทำอย่างไร, ฟ้องซ้อน คืออะไร, แต่งตั้งผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกมีสิทธิและหน้าที่เพียงทำการอันจำเป็นเพื่อจัดการมรดกโดยทั่วไป
ทายาทฟ้องทายาทให้แบ่งทรัพย์มรดก
การจัดการทรัพย์มรดกในฐานะผู้จัดการมรดกตามหน้าที่ที่จำเป็น
คำร้องขอให้ศาลตั้งผู้จัดการมรดกปิดบังทรัพย์มรดกมีผลอย่างไร
ทายาทมิได้ฟ้องเรียกร้องมรดกภายใน 1 ปี
ร้องขอเป็นผู้จัดการมรดก ทรัพย์สินที่ทำมาหาได้ร่วมกัน ผู้มีส่วนได้เสีย
สามีไม่ได้จดทะเบียนเป็นผู้มีส่วนได้เสียเป็นผู้จัดการมรดกได้
ทรัพย์มรดกยังไม่ได้แบ่งให้แก่ทายาททุกคน-การจัดการทรัพย์มรดกยังไม่เสร็จสิ้น
บุคคลผู้ต้องถูกกำจัดมิให้รับมรดกของผู้ตาย
ผู้จัดการมรดกไม่จัดทำบัญชีทรัพย์มีผลอย่างไร?
ฟ้องผู้จัดการมรดกนับแต่การจัดการมรดกสิ้นสุดลงเกินห้าปีขาดอายุความ
ผู้จัดการมรดกไม่จัดทำบัญชีทรัพย์มรดกยื่นต่อศาลถูกเพิกถอนได้
อายุความคดีมรดก เจ้าหนี้ฟ้องคดีมรดกเกินหนึ่งปี
คดีของโจทก์ขาดอายุความการจัดการมรดก
บุตรบุญธรรมเป็นผู้สืบสันดานเหมือนบุตรชอบด้วยกฎหมาย
บุตรนอกกฎหมายซึ่งผู้ตายรับรองแล้วเป็นผู้สืบสันดาน
มารดาขายที่ดินซึ่งผู้เยาว์มีส่วนแบ่งไม่ต้องขอศาล
นายอำเภอคือผู้มีอำนาจจัดทำพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
ความรับผิดของผู้จัดการมดกภายหลังการเสียชีวิต
ผู้จัดการมรดกร่วมนำทรัพย์มรดกหาประโยชน์แก่ตน
ผู้สืบสันดาน คือใคร? ต่างกับทายาท อย่างไร?
คู่สมรสและการแบ่งมรดกของคู่สมรส | การสมรสเป็นโมฆะ
อายุความคดีมรดก และอายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดก
เหตุอันจะร้องขอให้ศาลสั่งถอนผู้จัดการมรดก
การปันมรดกเสร็จสิ้นลงแล้วการถอนผู้จัดการมรดกย่อมพ้นกำหนดเวลา
สามีมิได้จดทะเบียนสมรสไม่ถือเป็นทายาทของภริยาผู้ตาย
อำนาจหน้าที่จัดการศพพระภิกษุผู้มรณภาพไม่มีทรัพย์สิน
สามีไม่จดทะเบียนสมรสขอถอนผู้จัดการมรดก มีกรรมสิทธิ์รวม
ไม่มีความสามารถเพียงพอที่จะทำหน้าที่ผู้จัดการมรดก
อำนาจฟ้องขอแบ่งปันทรัพย์มรดกของผู้ตาย
ทายาททุกคนมอบหมายให้ครอบครองที่ดินแทนทายาททุกคนเพื่อประโยชน์ร่วม
ผู้อยู่ในฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิทธิของตนได้อยู่ก่อนตามมาตรา 1300
ทายาทโดยธรรมย่อมมีสิทธิเป็นเจ้าของรวมในทรัพย์มรดกตามส่วนที่จะพึงได้
สิทธิรับมรดกที่ยังไม่ได้จดทะเบียนการได้มาห้ามยกเป็นข้อต่อสู้ผู้รับโอนโดยสุจริต
การจัดการมรดกและผู้จัดการมรดก, สินสมรสและสินส่วนตัวในคดีมรดก, อายุความคดีมรดกตาม ป.พ.พ. มาตรา 1733
ผู้จัดการมรดกทำนิติกรรมซึ่งตนมีส่วนได้เสียเป็นปฏิปักษ์ต่อกองมรดก
ฟ้องขอให้แบ่งทรัพย์มรดกเมื่อล่วงพ้นกำหนดอายุความแล้ว
ผู้คัดค้านไม่ใช่ผู้มีส่วนได้เสียในการขอจัดการมรดก
ทายาทมีส่วนเท่ากันออกค่าใช้จ่ายจัดการทำศพ
ผู้จัดการมรดกครอบครองทรัพย์มรดกแทนทายาทอื่น
สิทธิของบิดาไม่ชอบด้วยกฎหมายในการรับมรดกของบุตรนอกกฎหมาย
หนังสือสัญญาแบ่งมรดกตกเป็นโมฆะหรือไม่?
อำนาจและหน้าที่ในการจัดการทำศพและลำดับก่อนหลัง
พินัยกรรมมีเงื่อนไขบังคับก่อน
ผู้จัดการมรดกฟ้องแทนทายาทโดยธรรมอื่น
คู่สมรสที่จดทะเบียนหย่าแล้วเป็นผู้จัดการมรดกได้หรือไม่
การสละมรดกมีผลย้อนหลังไปถึงเวลาเจ้ามรดกตายจึงขาดความเป็นผู้มีส่วนได้เสีย
แม้กองมรดกมีผู้จัดการมรดกแล้วทายาทก็ยังมีสิทธิฟ้อง
พินัยกรรมเอกสารฝ่ายเมืองไม่ได้ทำต่อหน้าพยานตกเป็นโมฆะ
บุตรนอกสมรสและบิดานอกกฎหมายมีสิทธิรับมรดกต่อกันอย่างไร
ผู้จัดการมรดก | ทายาทผู้ถูกตัดมิให้รับมรดก
ผู้จัดการมรดกเรียกให้เจ้าของรวมส่งมอบโฉนดที่ดิน
การจัดการมรดกยังไม่สิ้นสุดลงอายุความ 5 ปียังไม่เริ่มนับ
สิทธิรับมรดกก่อนหลัง
คำร้องขอเข้าเป็นคู่ความแทนที่ผู้มรณะ
อายุความฟ้องคดีแพ่งอันเนื่องจากคดียักยอกทรัพย์มรดก
เมื่อแบ่งมรดกเสร็จแล้วความเป็นทายาทสิ้นสุดลง-อายุความมรดก
การแบ่งมรดกที่ดินมือเปล่าไม่มีเอกสารสิทธิ
คดีมรดกต้องเป็นคดีที่ทายาทด้วยกันพิพาทกันเรื่องสิทธิในส่วนแบ่งมรดก
ขอให้ศาลสั่งถอนจากการเป็นผู้จัดการมรดก
ทายาทผู้มีสิทธิได้รับมรดกรับไปทั้งสิทธิและหน้าที่ความรับผิดของผู้ตาย
แสดงบัญชีเครือญาติเป็นเท็จปิดบังจำนวนทายาท
อายุความคดีมรดกสะดุดหยุดลง การแบ่งทรัพย์มรดกไม่ชอบ
ไม่มีกฎหมายบังคับให้ฟ้องเอาทรัพย์มรดกจากทายาทอื่นที่ครอบครองแทนใน 1 ปี
สัญญาว่าจ้างติดตามทรัพย์กองมรดกเรียกส่วนแบ่งเป็นโมฆะ
คดีฟ้องขอให้เพิกถอนพินัยกรรมปลอมและถูกกำจัดมิให้รับมรดก
โจทก์ฟ้องให้แบ่งทรัพย์มรดกได้แม้ว่าจะล่วงพ้นกำหนดอายุความหนึ่งปี
ผู้จัดการมรดกแบ่งปันทรัพย์มรดกให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันฟังคำสั่งศาล
คดีเกี่ยวกับการจัดการมรดกอายุความ 5 ปี
การแจ้งการเกิดของเด็กในทะเบียนคนเกิดเองว่าเป็นบุตรของตน
ผู้เสียหายรู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำความผิด
โจทก์เป็นบุตรนอกกฎหมายที่เจ้ามรดกได้รับรองแล้ว
การที่จะเป็นการครอบครองทรัพย์มรดกไว้แทนทายาทอื่น
พินัยกรรมเอกสารลับทำผิดแบบเป็นโมฆะ
การจัดการมรดกไม่ชอบไม่อาจถือว่าการจัดการมรดกสิ้นลงแล้ว