ReadyPlanet.com
bulletรับฟ้องคดีแพ่ง/อาญา
bulletพระราชบัญญัติ
bulletป.แพ่งและพาณิชย์
bulletป.อาญา ฎีกา
bulletป.วิอาญา
bulletป.วิแพ่ง
bulletป.กฎหมายที่ดิน
bulletป.รัษฎากร
bulletฟ้องหย่า
bulletอำนาจปกครอง
bulletนิติกรรม
bulletคดีมรดก
bulletอายุความฟ้องร้องคดี
bulletครอบครองปรปักษ์
bulletเอกเทศสัญญา
bulletเกี่ยวกับแรงงาน
bulletเกี่ยวกับคดีอาญา
bulletคดียาเสพติดให้โทษ
bulletตั๋วเงินและเช็ค
bulletห้างหุ้นส่วน-บริษัท
bulletคำพิพากษาและคำสั่ง
bulletทรัพย์สิน/กรรมสิทธิ์
bulletอุทธรณ์ฎีกา
bulletเกี่ยวกับคดีล้มละลาย
bulletเกี่ยวกับวิแพ่ง
bulletเกี่ยวกับวิอาญา
bulletการบังคับคดี
bulletคดีจราจรทางบก
bulletการเล่นแชร์ แชร์ล้ม
bulletอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
bulletมรรยาททนายความ
bulletถอนคืนการให้,เสน่หา
bulletข้อสอบเนติบัณฑิต
bulletคำพิพากษา 2550
bulletทรัพย์สินทางปัญญา
bulletสัญญาขายฝาก
bulletสำนักทนายความ
bulletป-อาญา มาตรา1- 398
bulletภาษาอังกฤษ
bulletการสมรสและการหมั้น
bulletแบบฟอร์มสัญญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2551-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2551-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-วิ-แพ่ง
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-วิ-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-อาญา
bulletข้อสอบเนติ-ปี2550-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2549-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2548-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2547-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2546-แพ่งพาณิชย์
bulletข้อสอบเนติ-ปี2545-แพ่งพาณิชย์
bulletนิติกรรมสัญญา
bulletพระธรรมนูญศาล
bulletทรัพย์สิน-สามีภริยา
bulletบิดามารดา-รับรองบุตร
bulletคดีครอบครัว
bulletสัญญาระหว่างสมรส
bulletสิทธิครอบครองที่ดิน
bulletสัญญาซื้อขาย
bulletแปลงหนี้ใหม่
bulletการได้กรรมสิทธิ์
bulletคดีเรื่องบุตร
bulletเช่าซื้อรถยนต์
bulletถอนผู้จัดการมรดก
bulletฟ้องค่าทดแทน
bulletฟ้องหย่า-ฟ้องหย่า
bulletสินสมรส-สินสมรส
bulletบันดาลโทสะ
bulletเบิกความเท็จ
bulletสิทธิ-สัญญาเช่า
bulletค้ำประกัน
bulletเจ้าของรวม
bulletจำนอง
bulletลูกหนี้ร่วม
bulletคำพิพากษาฎีกาทั่วไป
bulletกระดานถาม-ตอบ
bulletป-กฎหมายยาเสพติด2564
bulletขนส่งทางทะเล
bulletสมรสเป็นโมฆะ
bulletสามีภริยา
bulletตัวการไม่เปิดเผยชื่อ
bulletทนายความของสภาจัดให้
bulletอาวุธปืน
bulletรับช่วงสิทธิ
bulletแพ่งมาตรา1-1755




ยินยอมเป็นสามีภริยากันต่อหน้านายทะเบียน

ทนายความ ฟ้องหย่า lawyer

ยินยอมเป็นสามีภริยากันต่อหน้านายทะเบียน

สามีภริยาอ้างว่าจดทะเบียนสมรสกันหลอก ๆ ขอให้ศาลมีคำพิพากษาว่าการสมรสเป็นโมฆะและให้ภริยากลับไปใช้คำนำหน้าว่านางสาวอย่างเดิม

  คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5351/2545

ผู้ร้องทั้งสองยื่นคำร้องอ้างว่าได้จดทะเบียนสมรสกันหลอก ๆ เพื่อหวังประโยชน์ในทางการค้า มิได้มีเจตนาจะอยู่กินเป็นสามีภริยากันอย่างแท้จริง ทั้งไม่เคยอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยาแต่อย่างใด เหตุที่จดทะเบียนสมรสกันเนื่องจากเชื่อตามหมอดูทำนายเท่านั้น แต่ผู้ร้องทั้งสองมิได้นำพยานอื่นเข้าสืบประกอบว่าตนมิได้อยู่กินฉันสามีภริยากันจริง และมิได้ส่งสำเนาทะเบียนบ้านว่ามิได้อยู่บ้านหลังเดียวกัน นอกจากนี้ผู้ร้องทั้งสองยังปล่อยเวลาให้ล่วงเลยมาถึง 3 ปีเศษ จึงมายื่นคำร้องขอให้ศาลพิพากษาว่าการสมรสเป็นโมฆะ พฤติการณ์ที่นำสืบเช่นนี้แสดงให้เห็นว่าผู้ร้องทั้งสองยินยอมเป็นสามีภริยากันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1458 แล้วไม่มีเหตุที่จะมายื่นคำร้องขอให้ศาลพิพากษาว่าการสมรสของผู้ร้องทั้งสองตกเป็นโมฆะได้

ผู้ร้องทั้งสองยื่นคำร้องว่า ผู้ร้องทั้งสองได้ไปจดทะเบียนสมรสกัน ณ สำนักงานทะเบียนอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ในการจดทะเบียนสมรสดังกล่าว ผู้ร้องทั้งสองไม่ได้มีความสมัครใจที่จะสมรสกันอย่างแท้จริง แต่เพียงเพื่อหวังผลประโยชน์ทางการค้านับตั้งแต่จดทะเบียนสมรสผู้ร้องทั้งสองไม่ได้อยู่กินร่วมกันฉันสามีภริยาจนถึงปัจจุบัน ต่อมาผู้ร้องทั้งสองได้ไปติดต่อที่สำนักงานทะเบียนอำเภอหาดใหญ่ เพื่อขอให้นายทะเบียนเพิกถอนการสมรสและให้ผู้ร้องที่ 2 กลับคืนสู่สถานะเดิมโดยสามารถใช้คำนำหน้าเป็นนางสาว แต่นายทะเบียนไม่สามารถดำเนินการให้ได้และแจ้งให้ผู้ร้องทั้งสองมายื่นคำร้องต่อศาล เพื่อให้มีคำสั่งว่าการสมรสเป็นโมฆะก่อน ขอให้ศาลมีคำสั่งว่าการสมรสเป็นโมฆะและให้ผู้ร้องที่ 2 กลับสู่สถานะเดิม โดยการใช้คำนำหน้านามเป็นนางสาว

ศาลชั้นต้นไต่สวนแล้ว มีคำสั่งยกคำร้องขอ

ผู้ร้องทั้งสองอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ภาค 9 แผนกคดีเยาวชนและครอบครัวพิพากษายืน

ผู้ร้องทั้งสองฎีกา

ศาลฎีกาแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า "พิเคราะห์แล้ว มีปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยตามฎีกาของผู้ร้องทั้งสองว่า กรณีมีเหตุที่จะร้องขอให้ศาลพิพากษาว่าการสมรสของผู้ร้องทั้งสองเป็นโมฆะหรือไม่ ผู้ร้องทั้งสองฎีกาว่า ตามคำเบิกความของผู้ร้องทั้งสองก็ปรากฏว่าผู้ร้องทั้งสองจดทะเบียนสมรสกันหลอก ๆ เพื่อหวังผลประโยชน์ทางการค้าเท่านั้น มิได้ยินยอมเป็นสามีภริยาให้มีผลผูกพันทางครอบครัวจนถึงปัจจุบันผู้ร้องทั้งสองก็มิได้อยู่กินเป็นสามีภริยากัน การกระทำของผู้ร้องทั้งสองเป็นการสมรสที่ผิดจากเจตนาที่แท้จริง ไม่น่าเชื่อว่าจะยินยอมเป็นสามีภริยากันอันขัดต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1458 การสมรสเป็นโมฆะนั้น เห็นว่าผู้ร้องทั้งสองคงมีแต่ตัวผู้ร้องที่ 1 และผู้ร้องที่ 2 อ้างตนเองเป็นพยานมาเบิกความลอย ๆ ว่าผู้ร้องทั้งสองไม่มีเจตนาที่จะอยู่กินเป็นสามีภริยากันอย่างแท้จริง เหตุที่จดทะเบียนสมรสกันเนื่องจากเชื่อตามหมอดูทำนายเท่านั้น แต่ผู้ร้องทั้งสองก็ไม่ได้นำพยานบุคคลอื่นเข้าสืบประกอบว่าผู้ร้องทั้งสองไม่ได้อยู่กินกันฉันสามีภริยากันอย่างแท้จริงและมิได้มีการส่งสำเนาทะเบียนบ้านให้ปรากฏในสำนวนว่าผู้ร้องทั้งสองมิได้อยู่บ้านเดียวกัน นอกจากนี้ผู้ร้องทั้งสองได้ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยมาถึง 3 ปีเศษ จึงมายื่นคำร้องขอต่อศาลเป็นคดีนี้ พฤติการณ์ตามทางนำสืบของผู้ร้องแสดงว่า ผู้ร้องทั้งสองยินยอมเป็นสามีภริยากันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1458 แล้วกรณีไม่มีเหตุตามกฎหมายที่ผู้ร้องทั้งสองจะมายื่นคำร้องขอให้ศาลพิพากษาว่าการสมรสของผู้ร้องทั้งสองตกเป็นโมฆะได้ ที่ศาลอุทธรณ์ภาค 9 แผนกคดีเยาวชนและครอบครัวพิพากษามานั้น ศาลฎีกาคดีเยาวชนและครอบครัวเห็นพ้องด้วยในผล ฎีกาของผู้ร้องทั้งสองฟังไม่ขึ้น"

พิพากษายืน

มาตรา 1458 การสมรสจะทำได้ต่อเมื่อชายหญิงยินยอมเป็นสามี ภริยากัน และต้องแสดงการยินยอมนั้นให้ปรากฏโดยเปิดเผยต่อหน้า นายทะเบียนและให้นายทะเบียนบันทึกความยินยอมนั้นไว้ด้วย

จดทะเบียนหย่าเพื่อลดภาษี

การที่สามีภริยาจดทะเบียนหย่ากันเพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีแต่ยังคงอยู่กินและอุปการะเลี้ยงดูกันเสมือนมิได้หย่ากันเป็นการแสดงเจตนาลวงด้วยสมรู้ระหว่างกัน การหย่าดังกล่าวย่อมเป็นโมฆะ ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 155 คำฟ้องที่อ้างว่าการหย่าเป็นโมฆะและขอแบ่งทรัพย์ที่ทำมาหาได้ จึงเป็นการขอเข้าจัดการสินสมรสร่วมกันซึ่งคู่สมรสมีสิทธิร้องขอได้ตราบเท่าที่ยังคงมีฐานะเป็นสามีภริยากันอยู่ และกรณีนี้มิใช่เป็นสิทธิเรียกร้องที่จะต้องดำเนินการภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 193/9

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5690/2552




การสมรส การหมั้น

หลักเกณฑ์การหมั้นและเงื่อนไข อายุของคู่หมันฝ่าฝืนเป็นโมฆะ
การบอกเลิกสัญญาหมั้น
ร่วมประเวณีกับชายหรือหญิงคู่หมั้น
ผิดสัญญาไม่จดทะเบียนสมรส
สินสอดเป็นทรัพย์สินให้บิดามารดา ข้อแตกต่างและข้อเหมือนสินสอดและของหมั้น
ความยินยอมของบิดามารดาในการหมั้น
จดทะเบียนสมรสซ้อนเป็นโมฆะ ความเป็นโมฆะมีผลย้อนหลัง
ฟ้องเรียกคืนทรัพย์สินฐานผิดสัญญาหมั้น
ของหมั้นและสินสอด, มิได้มีเจตนาสมรสกันตามกฎหมาย, สิทธิเรียกคืนของหมั้นและสินสอด
สิทธิเรียกค่าเสียหาย,ค่าทดแทน,โดยไม่มีการหมั้น, แบบของสัญญาหมั้น
แต่งงานแล้วไม่ยอมหลับนอนด้วย,เรียกสินสอดคืน
ขณะสู่ขอไม่มีการตกลงเรื่องจดทะเบียนสมรส
ผู้มีสิทธิฟ้องคดีเรียกค่าทดแทน
ค่าทดแทน | ผิดสัญญาหมั้น
การหมั้นและสิทธิเรียกค่าทดแทนในกรณีผิดสัญญาหมั้น
ผิดสัญญาหมั้นเรียกสินสอดคืน
เรียกค่าสินสอดคืนโดยไม่มีการหมั้น