ReadyPlanet.com


ขอถามเกี่ยวกับมาตรา354 และ368


ข้อ3 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 354 บัญญัติว่า “คำเสนอจะทำสัญญาอันบ่งระยะเวลาให้ทำคำสนองนั้น

ท่านว่าไม่อาจจะถอนได้ภายในระยะเวลาที่บ่งไว้” และมาตรา 368 บัญญัติว่า “สัญญานั้นท่านให้ตีความไปตามความ

ประสงค์ในทางสุจริต โดยพิเคราะห์ถึงปกติประเพณีด้วย” น้องคิดว่า “ท่าน” ในบทบัญญัติดังกล่าวหมายถึงใครหรืออะไร



ผู้ตั้งกระทู้ เรวดี (fiveangle_ray-at-hotmail-dot-com) :: วันที่ลงประกาศ 2009-08-15 20:09:15


[1]

ความคิดเห็นที่ 1 (1974334)

ก่อนที่เราจะใช้ประมวลกฎหมายนี้ แต่เดิมเราใช้กฎหมายที่พ่อหลวง และบิดาแห่งกฎหมายไทยคือ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ได้บัญญัติใว้ หรือแปลจากร่างภาษาอังกฤษ

ซึ่ง ในขณะนั้นบ้านเมื่องเรายังเป็นระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ คำว่า"ท่าน" ก็คือพ่อขุนมูลนายที่มีอำนาจในขณะนั้นละครับน้อง

ผู้แสดงความคิดเห็น รอยเปลื้อน วันที่ตอบ 2009-08-16 12:17:12


ความคิดเห็นที่ 2 (1975661)

คือ คณะผู้ทรงอำนาจเหนือรัฐ ในการออก กม.ไม่ว่าจะเป็น รัฐสภาก็ดี / หน.คณะปฏิวัติก็ดี ล้วนแล้วแต่อยู่ในความหมายของคำว่า "ท่าน" ใน กม.ทุกฉบับ ที่อ้างว่า "ท่าน" ว่าบ้าง ท่านให้บ้าง เป็นการสื่อความหมายให้เห็นถึงการ ใช้อำนาจบังคับให้ปฏิบัติตาม และไม่ผิดหากจะตีความไปถึง พระราชา หรือ ผู้ปกครองแผ่นดิน หรือ ประธานาธิบดี ก็ยังได้ หาก กม.ฉบับนั้นๆ บัญญัติโดยบุคคลดังกล่าว

 

ผู้แสดงความคิดเห็น ความเห็นอื่น ๆ วันที่ตอบ 2009-08-20 09:55:37



[1]


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล